คุยสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม :  ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม  :  เราจะแยกตาแดงที่เกิดจากเยื่อบุตาอักเสบ (conjunctivitis) กระจกตาถลอก ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม  : คุณลุงอายุ 70 ปี มีปัญหาไปตรวจแล้วพบว่าเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลายแพทย์แนะนำให้ผ่าตัด แต่ต้องมีลำไส้อยู่หน้าท้องตลอดชีวิต คุณลุงเลยไม่ยอมผ่าตัดไม่ทราบว่าจะมีวิธีรักษาแบบอื่นๆ ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม  :   การฉีดวัคซีนอีสุกอีใสในเด็กเล็ก เช่น 2-3 ปี พอเด็กโตขึ้นอายุ 13-14 ปี จำเป็นต้องฉีดกระตุ้นอีกครั้งหรือไม่ ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม  :   หลังเป็น viral conjunctivitis จะมีภูมิคุ้มกันต่อการเป็น conjunctivitis ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม  :  Case cryptococcal meningitis ซึ่ง HIV  positive ที่รักษา amphotericin B นาน 2 สัปดาห์แต่แพ้ fluconazole จึงไม่ได้ให้ fluconazole ต่อ และต่อมาเกิด reinfection ของ cryptococcal  meningitis, ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม  :   โรงพยาบาลอยู่ในเขตโรงงาน มีผู้ป่วยจำนวนมากไอเรื้อรัง ไอแห้งๆ เวลาอากาศเย็น (ทำงานห้องเย็น) หรือเวลาได้กลิ่นสารเคมี ถ่ายภาพรังสีปอดปกติ. การใช้ยากลุ่ม antihistamine หรือ oral b2 agonist ช่วยได้หรือไม่ และขอทราบแนวทางรักษา, ขนาดยาและระยะเวลาในการให้ยา, ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    ผู้เขียนได้ยกตัวอย่างกรณีเหตุการณ์ด้านความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมาหลายแห่งแล้ว ตั้งแต่ปัญหาแคดเมียมที่อำเภอแม่สอด เหมืองทองที่อำเภอวังทรายพูน โรงไฟฟ้าที่อำเภอแม่เมาะ ปัญหาตะกั่วที่อำเภอทองผาภูมิ และสารหนูที่ร่อนพิบูลย์ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นผลกระทบที่เกิดจากการทำเหมืองแร่. บทความชุดอาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับนี้ ขอปิดประเด็นเรื่องของ " เหมือง " ...
  • วารสารคลินิก 239 ตุลาคม 2547
    รายที่ 1ชายอายุ 35 ปี สังเกตพบผื่นแดงที่ขา 2 ข้าง (ภาพที่ 1) มานาน 2 สัปดาห์. ผู้ป่วยรายงานว่าตนสุขภาพแข็งแรง.การตรวจร่างกายพบ erythematous papules อยู่ที่โคนเส้นขนบริเวณหน้าแข้ง 2 ข้างรู้สึกระคายเคือง คัน และเจ็บเล็กน้อย.  ...
  • วารสารคลินิก 237 กันยายน 2547
    จุดบกพร่องที่พบบ่อยที่สุดในการทำเวชปฏิบัติ ก็คือการสื่อสารกับผู้ป่วย. ภายใต้ภาระงานล้นมือที่มีเวลาตรวจผู้ป่วยเพียงไม่กี่นาที เรามักไม่มีโอกาสได้สื่อสาร (อธิบายแนะนำ) ให้ผู้ป่วยมีความกระจ่างเกี่ยวกับโรคที่เป็นและการปฏิบัติตัวต่างๆ. หรือในกรณีที่มีโอกาสพูดคุยกับผู้ป่วย ก็มักเป็นการสื่อสารแบบทางเดียว คือ พยายามสอนให้รู้และขู่ให้กลัว ดังตัวอย่างต่อไปนี้ = กรณีที่1  ...