ถามตอบปัญหาสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    Q  :   อยากทราบว่ายาหยอดตาที่เปิดใช้แล้ว ...
  • วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    Q :   อยากทราบวิธีการเลือกเครื่องช่วยฟัง ว่ามีกี่แบบ ...
  • วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    ถาม  :  ผู้ป่วยอายุ 88 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ pneumococcus ทุก 5 ปี มา 2 ครั้ง ช่วงที่ฉีดวัคซีนผู้ป่วยสบายดี ไม่มีโรคประจำตัวใดๆ และไม่ได้กินยาอื่นๆ ประจำ. ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 3 หลังฉีดวัคซีนไป 1 วัน บริเวณที่ฉีดยา (deltoid) บวม ปวด แดงมาก (2 ครั้งแรก บวม แดง เล็กน้อย) วันที่ 2 ผู้ป่วยมีเลือดออกมาทางปาก พร้อมกับการขากเสมหะเป็นเลือดสด 4-5 ครั้ง/วัน. ...
  • วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    ถาม  :   ผู้ป่วยเป็นริดสีดวงทวารหนัก มี prolapsed grade IV ผู้ป่วยไม่ต้องการผ่าตัด การไปฉีด sclerosing agent จะช่วยทุเลาอาการได้หรือไม่ และจะมี fibrosis ที่ทำให้เกิด anal stricture ได้บ่อยมากหรือไม่ จากการฉีด sclerosing ...
  • วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    ถาม  :  เด็กเล็กๆ อายุ < 2 ปี เวลามีไข้หวัด มักมีขี้ตาสีเขียวๆ เหลืองๆจำนวนมากเป็นข้อบ่งชี้ของการให้ยาปฏิชีวนะหรือไม่.สมาชิกตอบ  :   เด็กเล็กที่มีไข้ น้ำมูกและมีขี้ตา ควรตรวจดูว่ามีการอักเสบของเยื่อบุตาด้วยหรือไม่มีหูชั้นกลางอักเสบด้วยหรือไม่การศึกษาเด็กอายุน้อยกว่า 3 ปีในประเทศอิสราเอล พบว่าร้อยละ 90 ของเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี ที่มี acute ...
  • วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    Q  :  อยากเรียนว่าโรคตากุ้งยิงเกิดจากอะไร ...
  • วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    Q  :  ผู้ชายอายุ 44 ปี เป็นหูดที่ทวารหนัก ...
  • วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    รายที่ 1 หญิง อายุ 46 ปี สังเกตพบผื่นบริเวณเท้าขวาหลังจากตะปูตำ (ภาพที่ 1) ลักษณะอาการนี้เรื้อรังมา 3 ปี เคยมีหนองออกจากผื่น ผู้ป่วยไม่มีโรคประจำตัว. ผลการตรวจร่างกายพบพยาธิสภาพขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 ซม. บนฝ่าเท้าขวามีลักษณะเป็นผื่นนูนสีแดงคลุมด้วยสะเก็ดอยู่ชิดกันหลายตุ่ม และมีแผลเป็นบุ๋มเล็กน้อยร่วมด้วย. การตัดชิ้นเนื้อส่งเพาะเชื้อและตรวจจุลพยาธิหลายครั้งแต่ไม่ได้ผลที่ชัดเจน ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    ถาม  : ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้ ตอบ  :  ยาในรูปแบบเม็ดนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด1. ยาออกฤทธิ์เนิ่น (sustained  release) เช่น ชื่อยาที่มีคำต่อท้ายว่า CR, MR, SR, XL ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อปลดปล่อยตัวยาช้าๆ และต่อเนื่อง. ตัวอย่างเช่น Adalat CR, Diamicron MR, Klacid MR, Neulin SR, Xatral XL  ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    Q  :  ...