ถามตอบปัญหาสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    Q จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคจอประสาทตาเสื่อมA ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้อาจแสดงอาการแตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน โดยส่วนใหญ่จะมีอาการตามัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งตรงกลางภาพ มีความลำบากในการอ่านหนังสือหรือทำงานละเอียดและต้องใช้แสงมากๆ อาจเห็นภาพบิดเบี้ยว (distortion) ในโรคจอประสาทตาเสื่อมชนิดเปียก. ความผิดปกติในการมองเห็นตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค อาจยากต่อการสังเกตโดยเฉพาะถ้าตาอีกข้างหนึ่งยังมองเห็นได้ดี. ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    อยากทราบแนวทางประเมินผู้ป่วยตาบอดQ อยากเรียนว่าแนวทางการประเมินเพื่อให้คำแนะนำผู้ป่วยตาบอด ว่าจะมีโอกาสรักษาให้กลับมามองเห็นได้หรือไม่อย่างไร และสามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างไร.นพ.วุฒิ ตรีพรชัยศักดิ์A โดยทั่วไป ถ้าตาข้างที่บอดนั้นไม่สามารถมองเห็นได้แม้แต่แสงสว่างแล้ว มักไม่สามารถรักษาให้กลับมามองเห็นได้ แต่ต้องเป็นการตรวจที่ถูกวิธี กล่าวคือใช้บริเวณฝ่ามือปิดที่ตาอีกข้าง ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ถาม การให้ยา amitriptyline และ fluoxetine ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มีข้อแตกต่างอย่างไร และต้องใช้ระยะเวลานานเท่าไร.สมาชิกเก่าตอบ ความแตกต่างของยา 2 ขนานอยู่ที่อาการข้างเคียง ความปลอดภัย และการปรับขนาดยา.- ยา amitriptyline เป็นยาแก้ซึมเศร้า กลุ่ม tricyclic อาการข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ ง่วงซึม ตาพร่ามัว ท้องผูก มี postural hypotension และทำให้มี PR และ QRS interval ยาวขึ้น ...
  • วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ " ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"วลัยอร ปรัชญพฤทธิ์ พ.บ. กลุ่มงานไบโอเอ็นจิเนียริ่ง สถาบันโรคผิวหนัง ...
  • วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    Q โรคจอประสาทตาเสื่อมคืออะไรA โรคที่มีความผิดปกติเกิดขึ้นที่จุดรับภาพของจอประสาทตา โรคนี้ทำให้สูญเสียการมองเห็นโดยเฉพาะกลางภาพ ซึ่งสามารถมองเห็นขอบด้านข้างของภาพได้ เช่น มองเห็นตัวคน ส่วนของใบหน้าเบลอมองเห็นไม่ชัด. ผู้ป่วยบางรายเกิดการเสื่อมของจอประสาทตาขึ้นอย่างช้าๆ จนแทบไม่ทันสังเกตเห็น ขณะที่บางรายอาจเกิดการเสื่อมของจอประสาทตาอย่างรวดเร็ว โรคนี้มักพบในผู้สูงอายุตั้งแต่อ่ายุ 50 ปีขึ้นไป ...
  • วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    สายตาสั้นเกิดจากอะไรQ อยากเรียนถามว่าสายตาสั้นเกิดจากอะไร การใช้สายตามากๆทำให้สายตาสั้นหรือไม่ และการใส่แว่นจะป้องกันไม่ให้สายตาสั้นมากขึ้นได้จริงหรือไม่.นพวุฒิ ตรีพรชัยศักดิ์A ปัจจัยที่มีผลกำหนดให้มนุษย์เรามีสายตาปกติ สายตาสั้น ยาว หรือเอียง เกิดจากความสมดุลระหว่างความโค้งของกระจกตาดำ เลนส์ตา และความยาวของลูกตา. ...
  • วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    ถาม ผู้ป่วยหญิงอายุ 70 ปี มาผ่าตัดเพื่อทำ  ORIF, K-wire fixation ยาที่ใช้ได้แก่ etomidate, succinyl, vecuron, dormicum, fentanyl, sevoflurane การผ่าตัดราบรื่นดี V/S stable หลังผ่าตัด วันที่ 2 เริ่มสังเกตเห็นว่ามีตัวตาเหลือง และสับสน เจาะตรวจ LFT ค่า SGOT สูงมาก จากการซักประวัติผู้ป่วยไม่เคยมีประวัติตัวตาเหลืองมาก่อน ไม่มีประวัติตับอักเสบใดๆ  ...
  • วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...