กรณีศึกษา (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    ผู้ป่วยหญิงไทยหม้ายอายุ 35 ปี น้ำหนัก 68 กิโลกรัม ส่วนสูง 163 เซนติเมตร. เมื่อ 9 ปีก่อนได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อเอชไอวี ไม่ได้รับการรักษาอย่างจริงจัง จนเมื่อ 2 ปีก่อนได้รับการวินิจฉัยเป็นเอชไอวีร่วมกับวัณโรคปอด ได้รับยาต้านไวรัสร่วมกับยารักษาวัณโรค. ต่อมาตรวจพบว่าเริ่มมี partial resistance ต่อ AZT, ddI, 3TC และ high level resistance ต่อ NVP รวมทั้งพบว่ามีผลข้างเคียงจาก AZT ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    เชื่อผมสิครับว่า เหตุการณ์ต่อไปนี้ เคยเกิดขึ้นที่ห้องตรวจแผนกผู้ป่วยนอก ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในเมืองใหญ่ที่มีผู้คนมากมาย หลายชาติหลายภาษา ผ่านมาแล้วก็ผ่านไป บางรายผ่านมาแล้วก็เลยมาอาศัยอยู่ในเมืองแห่งนั้นเป็นการถาวรเสียเลย. คุณหมอไพรัชออกตรวจคนไข้บ่ายวันนั้น คุณหมอของเราไม่ได้มีอาการเขม่นตาซ้ายหรือ ตาขวาเลยแม้แต่น้อยว่า อีกสักประเดี๋ยวจะเกิดเรื่องวุ่นๆขึ้นในห้องตรวจ ...
  • วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    กรณีศึกษาผู้ป่วยหญิงอายุ 32 ปี ตั้งครรภ์ได้ 38 สัปดาห์ ฝากครรภ์ที่คลินิกสูติแพทย์แห่งหนึ่ง ระหว่างการฝากครรภ์ไม่พบความผิดปกติใดๆ วันนี้มาตรวจครรภ์ตามนัด แพทย์ตรวจพบความดันโลหิตสูงโดยที่ผู้ป่วยไม่มีอาการผิดปกติ แพทย์สั่งให้ผู้ป่วยรีบไปนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลที่สูติแพทย์ท่านนี้ประจำอยู่ แต่ผู้ป่วยคิดว่าไม่รีบ จึงไม่ได้ตรงไปโรงพยาบาลเลยแต่กลับบ้านไปเตรียมข้าวของเพื่อไปใช้ในโรงพยาบาล. ...
  • วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    ชายไทยอายุ 60 ปี มาห้องฉุกเฉิน เนื่องจากหายใจหอบเหนื่อย อ่อนเพลีย กินได้น้อย หลังจากกลับมาจากเที่ยวประเทศทิเบต เมื่อ 4 วันก่อน. โดยวันแรกไปเที่ยวที่ระดับความสูงประมาณ 1,000 ฟุต จากระดับน้ำทะเล อาการทั่วไปปกติดี. วันที่ 2 ไปเที่ยวที่ระดับความสูงประมาณ 3,000 ฟุต เริ่มมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะเล็กน้อย ไม่มีบ้านหมุน เพลียและเหนื่อยมากขึ้น ไม่เจ็บหน้าอก ถ่ายเหลว 1 ครั้งไม่มีมูกเลือดปน ...
  • วารสารคลินิก 270 มิถุนายน 2550
    กรณีศึกษาแพทย์ชายอายุ 28 ปี เพิ่งเรียนจบแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง ได้ไปสมัครเข้าทำงานในตำแหน่งแพทย์เฉพาะทางแบบเต็มเวลากับโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง เมื่อตกลงการปฏิบัติงานและได้รับการว่าจ้างแล้ว แพทย์รายนี้ได้ตรวจผู้ป่วยตรงตามมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรมทางการแพทย์ ให้เวลากับการอธิบายและพูดคุยกับผู้ป่วยอย่างละเอียด สั่งการตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างระมัดระวังตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์. หลังจากทำงานครบ 2 ...
  • วารสารคลินิก 270 มิถุนายน 2550
    แพทย์หลายคนคงรู้สึกกระอักกระอ่วนเมื่อต้องพูดถึงความตายกับผู้ป่วย กลัวผู้ป่วยจะคิดว่าหมอพูดจาไม่เหมาะสม ทำให้สะเทือนใจ เหมือนไปทักให้เสียกำลังใจ ต่างๆ นาๆ เหล่านี้ ดังนั้นในหลายครั้งเมื่อแพทย์ต้องสื่อข่าวร้ายให้ผู้ป่วยทราบ จึงรู้สึกลำบากใจและพยายามเลี่ยงที่จะพูดความจริง. แพทย์หลายคนออกแนวบิดเบือนความจริง เพราะเกรงว่าผู้ป่วยจะรับความจริงไม่ได้ ...
  • วารสารคลินิก 270 มิถุนายน 2550
    ► ปัจจัยเสี่ยงก่อโรคหัวใจและหลอดเลือดส่วนมากปรับเปลี่ยนลดลงได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ชีวิต► ...
  • วารสารคลินิก 270 มิถุนายน 2550
    คุณตาสมานวัย 85 ปี มาโรงพยาบาลในบ่ายวันหนึ่ง วันนั้นเป็นเวรตรวจของคุณหมอทรงพลพอดี เขาเป็นแพทย์ฝึกหัดปีที่สอง และกำลังขึ้นปฏิบัติงานอยู่ที่แผนกอายุรกรรม.คุณหมอทรงพลผ่านอายุรกรรมมานานเกือบสามเดือนแล้ว จึงเดินเข้ามาตรวจคนไข้ด้วยความมั่นอกมั่นใจ เพราะคิดว่าปัญหาของผู้สูงอายุคงไม่มีอะไรมากนัก ใช้เวลาตรวจเพียงไม่นานก็คงจะเสร็จเรียบร้อย...กินหมูอยู่แล้ว สำหรับคนไข้รายนี้..."คุณตา ...
  • วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    ในกลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคที่หมดหวัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มที่มีอาการระยะสุดท้าย จะมีอาการที่พบบ่อยซึ่งก่อความทุกข์ทรมานให้ผู้ป่วยและญาติได้มาก คือ อาการคลื่นไส้อาเจียน ซึ่งพบบ่อยถึงร้อยละ 50-70 ...