กรณีศึกษา (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    ในยุคสมัยที่วิทยาการปัจจุบันก้าวหน้าไปมาก การสื่อสารทันสมัย ทั่วโลกสามารถติดต่อหากันได้ภายในลัดนิ้วมือเดียว การุณยฆาต หรือ Euthanasia จึงไม่ใช่เรื่องห่างไกลตัวคุณหมออีกต่อไป. ใครจะรู้ครับ วันดีคืนดี คนไข้ระยะสุดท้ายของคุณหมออาจจะขอร้องให้ช่วยยุติชีวิตของ เขาลงก็ได้ เพราะไม่อยากจะทนเจ็บปวดอีกต่อไปแล้ว.มโนธรรมภายในใจของคุณหมออาจจะต่อสู้กัน ใจหนึ่งอยากช่วยเพราะคุณหมอเองก็รู้ว่าคนไข้ไม่หายแน่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    ตามรอยพระราชปณิธาน.....สืบสานหน่วยแพทย์เคลื่อนที่พอ.สว.ขอเขียนบทความเพื่อถวายแด่สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ขอพระองค์ทรงเสด็จสู่สวรรคาลัย พวกเราแพทย์ทุกคนจะน้อมนำพระราชปณิธาน เพื่อดำเนินการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ต่อไป ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    สถานการณ์ต่อไปนี้ เป็นสถานการณ์สมมติ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้น ณ โรงพยาบาลแห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้...ในอนาคตอันไม่ใกล้ไม่ไกลจนเกินไปนัก...นายแพทย์โอม ดูแลคุณลุงนนท์มานานหลายปี เมื่อสักสองเดือนที่ผ่านมานี้เอง ลุงนนท์มีอาการหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก รับประทานอาหารไม่ได้ น้ำหนักลดลงอย่างผิดหูผิดตา.ลุงนนท์มาหาคุณหมอโอมเพราะปวดสะโพกจนเดินไม่ไหว แล้วเลยถือโอกาสตรวจเรื่องหายใจหอบด้วยเสียเลย. ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    เวลาของการใช้ทุนของแพทย์เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่สำคัญของชีวิตแพทย์..... บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการไปใช้ทุนในชนบทของนักศึกษาแพทย์ และเป็นกำลังใจแก่แพทย์จบใหม่ที่กำลังทำงานอย่างหนัก ในโรงพยาบาลชุมชนทุกข์ในกรงเนื่องในวันที่ 5 ธันวาคม 2550 ในวโรกาสครบรอบ 80 ปี พ่อหลวงของคนไทย ขอเป็นกำลังใจให้แพทย์ทุกคนที่กำลังทำงานอย่างหนัก ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    ระยะนี้ผมมีโอกาสทบทวนเอกสารเกี่ยวกับโครงการสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง โรงพยาบาลหลายแห่งที่พัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพ โดยหันมาใช้กระบวนทัศน์ "การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์".กรณีตัวอย่าง 2 เรื่อง ได้แก่ "เรื่องเด่นที่โรงพยาบาลละงู" และ "คืนคุณค่าความเป็นมนุษย์แก่รำเพย" ที่นำมาเสนอไว้ในที่นี้ ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    ผู้ป่วยในเวชปฏิบัติทั่วไปมักมาตรวจด้วยอาการที่หลากหลาย ทั้งที่เป็นปัญหาแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ปัญหาสุขภาพทางเพศก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่สำคัญและพบบ่อย เพียงแต่....... ผู้ป่วย อยากถาม แต่ ไม่กล้าพูด ... แพทย์ ไม่อยากถาม และไม่รู้จะพูดอะไรหากถูกถาม ผู้ป่วยมักไม่ได้มาปรึกษาปัญหาสุขภาพทางเพศเป็นอาการสำคัญ แต่จะเลียบๆเคียงๆถามหลังจากคุ้นเคยกับหมอสักพัก หรือลักษณะที่พบบ่อยกว่า คือ ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    ฉบับที่ผ่านมาเราคุยกันถึงเรื่อง "ความปรารถนาสุดท้าย" ของผู้ป่วย และหลักการที่สำคัญไปแล้ว สรุปความได้ดังนี้1. การสนทนากับคนไข้ถึงเรื่องวาระสุดท้ายของชีวิต ว่าคนไข้มีความต้องการอย่างไร เป็นเรื่องสำคัญ และแพทย์ควรจะหาโอกาสพูดคุยกับคนไข้ของตนเองทุกราย.2. แพทย์อาจแนะนำให้คนไข้เขียนบันทึกสิ่งที่ต้องการหรือ Living Will เอาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพราะเมื่อคนไข้ถึงวาระสุดท้ายอาจจะหมดสติ ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    กรณีศึกษาชายอายุ 67 ปี มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงและไขมันโลหิตสูง สภาพทั่วไป แข็งแรงดีมาตลอด เป็นคนรักษาสุขภาพ ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล คลื่นไส้แต่ไม่อาเจียน รู้สึกว่าปวดมากจนนอนไม่หลับ จึงมาตรวจที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลจังหวัดช่วงกลางคืน ผู้ป่วยเคยมีประวัติปวดศีรษะเป็นๆหายๆ แต่ไม่เคยปวดมากเท่าครั้งนี้ ปกติเป็นคนเครียดง่าย ขี้กังวล ภรรยาอายุ 68 ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    ต้นเรื่องผู้เขียนได้เคยเขียนบทความอาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2549 เกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจว่า "ผู้เขียนเชื่อว่าแพทย์โรคทางหายใจมีโอกาสได้พบเห็นผู้ป่วยที่มีสาเหตุการเจ็บป่วยจากสิ่งแวดล้อมหรือการทำงานมากกว่าแพทย์สาขาอื่น ถ้าแพทย์สาขานี้มีความ "ฉุกคิด"หรือตระหนักถึงสาเหตุของโรค ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    สถานการณ์ที่ 1 : พลอยจันทร์ เป็นบรรณารักษ์ประจำห้องสมุดมหาวิทยาลัยเก่าแก่แห่งหนึ่ง เธอป่วยเป็นเบาหวานมานานหลายปี รักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน น้ำตาลของเธอควบคุมได้ยากมาก ทุกครั้งที่เจาะเลือดจะต้องมีระดับน้ำตาลไม่ต่ำกว่า 250 มก.%และเหมือนกับคนไข้เบาหวานอื่นๆ ที่อยู่กับโรคเบาหวานของตัวเองมานานปี พลอยจันทร์มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานดีทุกอย่าง รู้ว่าควรคุมอาหารอย่างไร ...