คุยสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    เว็บไซต์วารสารคลินิกเปิดให้บริการแก่ทุกท่านที่สนใจในการส่งคำถามที่ท่านมี ข้อสงสัยเกี่ยวกับเวชปฏิบัติการใช้ยา และเรื่องราวที่น่าสนใจทางการแพทย์และ เวชปฏิบัติทุกสาขาทางอินเตอร์เน็ตปัญหาเวียนศีรษะQ อยากทราบแนวทางการวินิจฉัยแยกโรคผู้ป่วยที่มาด้วยเรื่องเวียนศีรษะวรวิทย์ อึ้งภูริเสถียรA ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการเวียนศีรษะ จะแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ คือ1. Peripheral vestibular disorder  ซึ่งหมายถึง ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    สำหรับผู้บริโภค เงินที่จ่ายออกไปก็เพื่อให้ได้สินค้าหรือบริการที่ถึงพร้อมทั้งปริมาณและคุณภาพ ทำนองเดียวกันผู้ขายก็ย่อมตั้งราคาขายโดยคำนึงถึงต้นทุนที่รวมค่าประกันคุณภาพเอาไว้ด้วย ภายใต้หลักการทั่วไปนี้ มีคำถามว่า บริษัทประกันวินาศภัยที่ทำหน้าที่ซื้อบริการรักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บ (โดยกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ) ได้คำนึงถึงมิติด้านคุณภาพสักเพียงใด.ในบทนี้ของรายงาน ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    ถาม ควรให้ยาอะไรในการลด heart rate ผู้ป่วย CAD (coronary artery disease) ที่มีประวัติ COPD หอบเหนื่อยไม่บ่อย แต่กินยา Theodur® 1x2 ทุกวัน และกรณีที่มีหอบนานๆ ครั้ง ใช้ Berodual? MDI prn.สมาชิก clinicตอบ ขอตอบคำถามดังนี้1. แนะนำว่าควรหาทางหยุด Theodur® และใช้ยาพ่นแทน แล้วดูว่า heart rate ช้าลงหรือไม่.2. ถ้ามีสาเหตุที่หยุด Theodur® ไม่ได้จริงๆ อาจใช้ยากลุ่ม non-dihydropyridine group ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    วิทยาการสมัยใหม่มีเพิ่มขึ้นทุกวันในการดูแลรักษาผู้ป่วย บางครั้งแพทย์โดยเฉพาะแพทย์จบใหม่อาจมีปัญหาในการตอบคำถาม หรือสื่อสารกับผู้ป่วย ซึ่งบางครั้งอาจดูเหมือนเป็นคำถามง่ายๆ สั้นๆ แต่จะตอบให้เข้าใจตรงกันได้ยาก ถ้ามีแนวทางในการตอบคำถามและสื่อสารกับผู้ป่วยให้เข้าใจโรคของตนเอง ก็จะทำให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นQ การผ่าตัดเสริมเต้านมหมายถึงอะไร ทำได้กี่วิธี?A Immediate breast ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็นสัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    เว็บไซต์วารสารคลินิกเปิดให้บริการแก่ทุกท่านที่สนใจในการส่งคำถามที่ท่านมีข้อสงสัยเกี่ยวกับเวชปฏิบัติการใช้ยา และเรื่องราวที่น่าสนใจทางการแพทย์และเวชปฏิบัติทุกสาขาทางอินเตอร์เน็ตโรคต้อกระจกQ ผู้ป่วยที่มาด้วยปัญหาตามัว จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นจากโรคต้อกระจก และเมื่อผ่าตัดรักษาใส่เลนส์แก้วตาเทียมแล้ว จะใช้งานได้กี่ปีรัชดาภรณ์ ตันติมาลาA ตามัวอาจเกิดจากสาเหตุได้หลายโรค ซึ่งจากการถามประวัติตามัว ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    เวลาของการใช้ทุนของแพทย์เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่สำคัญของชีวิตแพทย์..... บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการไปใช้ทุนในชนบทของนักศึกษาแพทย์ และเป็นกำลังใจแก่แพทย์จบใหม่ที่กำลังทำงานอย่างหนัก ในโรงพยาบาลชุมชนพลังแห่งการแนะนำ"หมอ...ลุงยังเหนื่อยอยู่เลย ให้ยาไปไม่เห็นหายเลย" ชายคนหนึ่งซึ่งโอพีดีการ์ด ระบุว่าอายุ 55 ปีบ่นกับผม. ผมพลิกดูรายละเอียดพร้อมกับบอกว่า ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    "กฎหมายฉบับนี้จะทำให้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทยมีความชัดเจน โดยกระทรวงสาธารณสุขจะยกระดับศูนย์นเรนทรให้เป็นสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เพื่อเป็นหน่วยงานในการจัดระบบ วางแผนการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินทุกระดับครอบคลุมทุกพื้นที่...ผู้ที่มีสิทธิ์ช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ ผู้ป่วยจะต้องเป็นมืออาชีพทั้งอาสาสมัครและผู้ประกอบวิชาชีพที่ผ่านการอบรมด้านนี้เป็นอย่างดี มีการขึ้นทะเบียนการประกอบวิชาชีพ ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ผมมีโอกาสเข้าร่วมประชุมสุนทรียเสวนา เรื่อง "หาทางออกเชิงระบบ ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์" ซึ่งจัดโดย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) ที่ห้องประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์. ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับที่ผ่านมาได้กล่าวถึงความเจ็บป่วยจากการทำงานหลากหลาย ด้วยหวังให้ท่านผู้อ่านได้ตระหนักว่าความเจ็บป่วยเหล่านั้นอยู่ใกล้ตัวผู้ประกอบเวชปฏิบัติและไม่ยากนักที่จะค้นหาสาเหตุ เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างถูกต้องให้กับผู้ป่วย รวมทั้งทำการป้องกันอาการเจ็บป่วยให้กับเพื่อนร่วมงานของผู้ป่วย.ไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้รับฟังเรื่องราวจากแพทย์อาชีวเวชศาสตร์รุ่นน้อง 2 คนซึ่งทำหน้าที่เป็น ...