โรคเรื้อรัง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    ถาม ปัจจุบันมีการรักษาโรคข้อกระดูกชนิด ติดแข็งให้หายขาดได้หรือไม่หรือมีวิธีบรรเทาให้ข้อติดกันช้าลงอย่างไรได้บ้างครับ.สมาชิกตอบ โรคข้อกระดูกชนิดติดแข็ง (ankylosing spondylitis) เป็นโรคในกลุ่มไขข้ออักเสบเรื้อรังชนิดแข็ง ซึ่งจะมีผลต่อข้อกระดูกหลังและข้อต่อกระดูกเชิงกราน เป็นโรคที่มีความสัมพันธ์กับยีนบางชนิด ดังนั้น จึงไม่หายขาด แต่โชคดีที่โรคดังกล่าวมีการดำเนินโรคจำกัด คือ ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    คำจำกัดความกลุ่มอาการเมตาบอลิก หมายถึง กลุ่มอาการที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ หลอดเลือดและเบาหวานชนิดที่ 2 ประกอบด้วยความผิดปกติ 4 ชนิด1 ดังนี้- อ้วนลงพุง (abdominal obesity).- ภาวะไขมันในเลือดสูง (dyslipidemia).- ความดันเลือดสูง (hypertension).- การเผาผลาญน้ำตาลผิดปกติและ/หรือเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะโรคอ้วนในเด็ก ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถาม  :   มะเร็งปากมดลูกเกิดจากเชื้อเอชพีวี 100% หรือไม่ และไม่ได้เกิดจากเชื้อเอชพีวีมีหรือไม่ ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    วารสารฉบับเดือนนี้ขอแนะนำเว็บไซต์ที่เกี่ยวโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) โดยมีชื่อว่า www.stroke.org ดำเนินการโดย National Stroke Association ของสหรัฐอเมริกา. หน้าแรกจะมีทั้งข่าวและบทความที่น่าสนใจล่าสุดสำหรับคนทั่วไป (ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมองคืออะไร ปัจจัยเสี่ยง การป้องกันและการหายจากโรค) และสำหรับบุคลากรทางสาธารณสุข เมื่อกดที่ Medical Professionals ของ menu ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับที่แล้วได้เล่าถึงเรื่องราวของ "แรงงานข้ามถิ่น" ซึ่งผู้เขียนได้เสนอแนะว่าหมายถึง ผู้ประกอบอาชีพที่ตั้งใจเดินทางไปทำงานนอกจังหวัดบ้านเกิดของ ตนเอง โดยเฉพาะข้ามภาค เช่น จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปยังภาคตะวันออกหรือภาคใต้ เพื่อหวังจะได้รับค่าตอบแทนจำนวนมาก แต่ไม่ได้มีการตั้งถิ่นฐานที่นั่น และยังมีการเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านเกิดเป็นระยะๆ. สำหรับบทความฉบับนี้ ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ชายไทยคู่ อายุ 51 ปีได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะสุดท้าย (Stage IV). ผู้ป่วยเคยได้รับการผ่าตัดลำไส้ใหญ่ (colectomy) ร่วมกับ jejunostomy. ต่อมาผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยอาการปวดแบบตื้อๆบริเวณหน้าท้อง ตลอดเวลา ความรุนแรงระดับ 10 (visual analog scale). ผู้ป่วยได้รับยา morphine 15 มก. IV ทุก 4 ชั่วโมง (90 มก./วัน) ร่วมกับ pethidine 25 มก. IV สำหรับ breakthrough ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ถาม การให้ยา amitriptyline และ fluoxetine ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มีข้อแตกต่างอย่างไร และต้องใช้ระยะเวลานานเท่าไร.สมาชิกเก่าตอบ ความแตกต่างของยา 2 ขนานอยู่ที่อาการข้างเคียง ความปลอดภัย และการปรับขนาดยา.- ยา amitriptyline เป็นยาแก้ซึมเศร้า กลุ่ม tricyclic อาการข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ ง่วงซึม ตาพร่ามัว ท้องผูก มี postural hypotension และทำให้มี PR และ QRS interval ยาวขึ้น ...
  • วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    การรักษาการรักษาโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ควรเริ่มตั้งแต่อธิบายเรื่องโรคนี้ ให้ผู้ป่วยและคนในครอบครัวผู้ป่วยเข้าใจ และแนะนำให้ผู้ป่วยดูแลตนเองให้เหมาะสม เช่น พยายามรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ โดยออกกำลังกายสม่ำเสมอ, รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่, นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และรักษาสุขภาพจิตให้สดชื่น แจ่มใส เพราะถ้ามีอาการเครียด กังวล ...
  • วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    การตรวจด้วยเครื่อง PET scan มีประโยชน์มากในการวินิจฉัยและรักษาโรคในปัจจุบัน โดยเฉพาะโรคมะเร็งเนื่องจากเป็นการถ่ายภาพในระดับโมเลกุล จึงสามารถตรวจพบความผิดปกติของโรคได้ก่อนเทคนิคการถ่ายภาพที่ให้ข้อมูลทางกายวิภาค (anatomical imaging) เช่น Computed Tomography (CT) หรือ Magnetic Resonance Imaging (MRI). Positron Emission Tomography (PET) เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ...