โรคเรื้อรัง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
275
พฤศจิกายน 2550
การรักษาด้วยยาต้านไวรัส โดยการใช้ยาต้านไวรัสอย่างน้อย 3 ชนิดร่วมกันที่เรียกว่า highly active antiretroviral therapy (HAART) นำไปสู่การรักษาการติดเชื้อเอชไอวีในระดับที่ควบคุมจนไม่สามารถตรวจพบไวรัสในกระแสเลือด (undetectable level) ทำให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีมีภูมิต้านทานดีขึ้นหรือจำนวน CD4 สูงขึ้น อุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อฉวยโอกาสลดลง อัตราตายลดลง และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น. ...
-
วารสารคลินิก
274
ตุลาคม 2550
NSAIDs หรือยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สตีรอยด์เป็นกลุ่มยาที่ใช้กันมากทั้งในโรงพยาบาลและหน่วยบริการปฐมภูมิ. นอกจากใช้รักษาโรคข้ออักเสบแล้ว ยังนิยมใช้บรรเทาอาการปวด ลดไข้ แทนพาราเซตามอล โดยเฉพาะอย่างยิ่งใช้บรรเทาปวดข้อ ปวดหลัง ปวดเมื่อย ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติประจำวัน. เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่า ยากลุ่มนี้เมื่อใช้ประจำมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลเพ็ปติก และภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น ...
-
วารสารคลินิก
274
ตุลาคม 2550
www.nhlbi.nih.gov/guidelines/hypertension/Hypertension (JNC7) จากที่กระทรวงสาธารณสุขได้จัดโครงการรณรงค์ตรวจวัดความดันโลหิตฟรี แก่ประชาชนไทยที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปพร้อมกันทั้ง 76 จังหวัดทั่วประเทศ ตั้งแต่วันที่ 2-8 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยใช้พลังของอาสาสมัครสาธารณสุขกว่า 8 แสนคนและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้งรัฐและเอกชนอีกกว่า 2 แสนคน ...
-
วารสารคลินิก
274
ตุลาคม 2550
สมมติว่ามีคนไข้มะเร็งตับรายหนึ่ง ที่คุณหมอดูแลเขาอย่างต่อเนื่องมานานพอสมควร ผ่านช่วงเวลายากๆ ของการให้ยาเคมีบำบัด และการผ่าตัด จนกระทั่งคุณหมอและคนไข้มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน.จนกระทั่งเวลาผ่านไปหลายปีและในคืนวันหนึ่ง คนไข้รายนี้ก็กลับมาที่ห้องฉุกเฉินอีกครั้ง ด้วยอาการตัวเหลืองตาเหลือง เหนื่อยหอบ ปวดแน่นท้อง มี ascite ท้องบวมโต หายใจ air hunger. หลังจากตรวจร่างกายคนไข้ ...
-
วารสารคลินิก
274
ตุลาคม 2550
หัวใจดวงใหม่วันนี้ชีวิตของ "ลุงเสริม" เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิงหลังได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจดวงใหม่เมื่อสิงหาคมที่ผ่านมาและได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจาก นายแพทย์อภิรักษ์ เชษฐเผ่าพันธ์ หมอหนุ่มไฟแรงแห่งโรงพยาบาล สงขลานคนรินทร์ ลุงเสริม พรรณราย อายุ 62 ปี บ้านอยู่หาดใหญ่ ...
-
วารสารคลินิก
273
กันยายน 2550
เมื่อได้ชื่อว่าเป็น หมอ อาจมีหลายคนรู้สึกว่าเรามีหน้าที่รักษาผู้ป่วยให้หายจากภาวะหรือโรคที่กำลังเป็นอยู่ แต่ในความเป็นจริงแล้วมีหลายครั้งที่เราไม่สามารถจะแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วให้หายได้ ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น1. ...
-
วารสารคลินิก
273
กันยายน 2550
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"วลัยอร ปรัชญพฤทธิ์ พ.บ. กลุ่มงานไบโอเอ็นจิเนียริ่ง สถาบันโรคผิวหนัง ...
-
วารสารคลินิก
273
กันยายน 2550
Stem cellwww.isscr.orghttp://stemcells.nih.gov เมื่อเดือนสิงหาคม ได้มีข่าวเกี่ยวกับการใช้ stem cells รักษาผู้ป่วยโรคหัวใจในประเทศไทย ซึ่งเป็นเรื่องที่แพทยสภาและคณะกรรมการอาหารและยากำลังพิจารณา. วารสารฉบับนี้จึงขอแนะนำเว็บไซต์ ที่มีข้อมูลของ stem cells ...
-
วารสารคลินิก
273
กันยายน 2550
เคยไหมที่จะรู้สึกเบื่อหน่ายกับการรักษาโรคเรื้อรัง จำพวกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รักษาไปก็ไม่เห็นจะหาย คนไข้เก่าก็มานัดติดตามมากมาย คนไข้ใหม่ก็ไปคัดกรองได้มาเพิ่มอีก แน่นขนัดไปหมดทุกคลินิก มันทั้งเหนื่อยและเครียดนะสำหรับผู้รักษา.เคยไหมที่จะรู้สึกเซ็งกับคนไข้ดื้อ พูดไม่รู้เรื่อง สั่งแล้วไม่ทำตาม อวดรู้ อยากทำอย่างนั้นอย่างนี้ สั่งจะเอายานั้นยานี้ เห็นเราเป็นร้านขายยาหรืออย่างไร ...
-
วารสารคลินิก
273
กันยายน 2550
Q : ความล้มเหลวในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของยารักษาโรคเบาหวานแต่ละชนิดแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร? ภาพที่ 1. แสดงประสิทธิภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีการต่างๆที่ระยะเวลา 3,6 ...