โรคเรื้อรัง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    โรคโลหิตจางพันธุกรรมธาลัสซีเมียเป็นโรคพันธุกรรมระบบเลือดที่พบบ่อยในประเทศไทย เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์โปรตีนโกลบินซึ่งเป็นโครงสร้างของเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงเปราะแตกง่าย. โดยปกติแล้ว เม็ดเลือดแดงทำหน้าที่นำออกซิเจนที่ได้รับจากการหายใจไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น หัวใจ สมอง ไต กล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายอยู่ในสมดุล ดำเนินชีวิตไปได้อย่างปกติ เมื่อเม็ดเลือดแดงแตก ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    อาการปากแห้งแต่มีสารคัดหลั่งมากขึ้นในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มอาการตรงกันข้ามที่เกิดร่วมกันได้บ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งทำให้ญาติเป็นกังวลได้มาก เพราะผู้ป่วยส่งเสียงดังต่อเนื่อง แม้จะไม่รู้สึกตัวแล้วหรือไม่รู้สึกทุกข์ทรมานก็ตาม ทั้งอาการปากแห้งยังทำให้ญาติเข้าใจผิดว่า ผู้ป่วยกระหายน้ำมาก จึงเป็นภาพที่ให้ความรู้สึกว่า ผู้ป่วยไม่สุขสบาย การช่วยดูแลรักษาภาวะนี้ ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    รอยโรคผื่นแดงจิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์, ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    แนวทางการรักษาผู้ป่วยหอบหืดขณะไม่มีอาการ ถาม แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยหอบหืดที่ถูกต้องโดยการให้ยาขณะไม่มีอาการ ฟังปอดไม่มีเสียงวี๊ดเป็นอย่างไร. ตอบ ในกรณีนี้มีประเด็นสำคัญ 2 ข้อ คือ หืดขณะไม่มีอาการ และไม่ได้ยินเสียงวี๊ด. หืดที่ไม่มีอาการ นั้น หมายถึง ไม่มีอาการไอ หรืออาการหายใจลำบาก รวมทั้งอาการในเวลากลางคืน ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยบอกกับแพทย์. ส่วนการไม่มีเสียงวี๊ดจากการฟังเสียงปอด ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    Q  :  ผู้ป่วยเป็น CA breast มาปรึกษาเนื่องจากมีนัดผ่าตัดเต้านมที่โรงพยาบาลจังหวัดแต่ผู้ป่วยอยากเก็บเต้านมไว้ จะให้คำแนะนำอย่างไร ทำได้หรือไม่A :   ปัจจุบันสามารถทำได้ เรียกว่า breast conservative treatment ประกอบด้วย การผ่าตัดก้อนบริเวณเต้านมออก และตามด้วยการฉายแสงต่อหลังจากผ่าตัด.Q  :  ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
     บทนำโรคเบาหวาน (diabetes mellitus) จัดเป็นปัญหาทางคลินิกที่สำคัญในกลุ่มโรคเรื้อรังซึ่งเกิดจากภาวะความไม่สมดุลของฮอร์โมนที่ทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลกลูโคสในร่างกาย ทำให้ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้เต็มที่ น้ำตาลที่มีอยู่จึงเข้าไปสู่กระแสเลือดในระดับสูงกว่าปกติเป็นเวลานาน ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    บทนำการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชากรในปัจจุบัน เช่น การรับประทานอาหารจานด่วน (fast food) อาหารที่มีไขมันสูงรวมถึงขาดการออกกำลังกาย ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักตัวเกินมาตรฐานหรือโรคอ้วน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆหลายชนิด เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเบาหวานนั้นมีอุบัติการณ์ของการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นทุกปี. จากข้อมูลทางสถิติขององค์การอนามัยโลก ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    Vibrio vulnificus เป็นแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่งที่อยู่ในตระกูล (family) Vibrionaceae เช่นเดียวกับ Vibrio cholerae ที่ทำให้เกิดโรคอหิวาตกโรค (cholera) และ Vibrio parahaemolyticus ที่ก่อโรคลำไส้ใหญ่อักเสบ (colitis). โดยปกติ V. ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    กรณีผู้ป่วยเมื่อ 8 ปีที่แล้ว ผู้ป่วยเปิดปี๊บหน่อไม้มาแล้วทดลองกินเอง เห็นว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น จึงนำหน่อไม้ไปแจกและขาย ซึ่งผู้ที่เปิดปี๊บคือหนึ่งในผู้ซึ่งเสียชีวิตจากพิษ botulinumครั้งนี้พิษ botulinum เกิดจากเชื้อ Clostridium botulinum ซึ่งเป็น anaerobe. ในภาวะที่ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ก็จะสร้างสปอร์ ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    "ข่าวร้ายและข่าวดีเกี่ยวกับโรคติดเชื้ออุบัติใหม่. ช่วงเดือนที่ผ่านมาทุกท่านคงได้รับทราบข่าวเกี่ยวกับการระบาดระลอกที่ 4 ของโรคไข้หวัดนกในจังหวัดพิจิตรและอุทัยธานีกันแล้ว อย่างไรก็ตามจนถึงปัจจุบันเรายังไม่พบหลักฐานยืนยันชัดเจนว่ามีการติดต่อจากคนสู่คน หมายถึงว่าสถานการณ์การระบาดของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทยยังอยู่ในระดับ 3 ตามเกณฑ์ของ WHO (WHO. Influenza Pande mic Preparedness Plan ...