บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    กลาก เกลื้อน : โรคยอดนิยมประจำเมืองร้อนโรคกลาก เกลื้อน เป็นโรคเชื้อราที่เกิดที่ผิวหนัง เป็นโรคที่คนทั่วไปรู้จักกันดีเพราะมีลักษณะที่สังเกตได้ง่าย และพบเป็นบ่อยในเมืองร้อนเช่นเมืองไทย พบเป็นได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ และเป็นได้ทั่วตัว ปัญหาของโรคกลาก เกลื้อน คือ ได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้องทำให้โรคไม่หายหรือไม่หายขาด คือ หายแล้วเป็นใหม่ อีกประการหนึ่งคือ ผู้ป่วยเป็นโรคผิวหนังชนิดอื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    ฟันผุที่รากฟัน“สองวันมานี้ คุณปู่บ่นเรื่องเสียวฟัน และเคี้ยวอาหารไม่ปกติ คุณว่าท่านฟันผุหรือเปล่านะ”“ท่านเป็นคนหนึ่งที่มีฟันดีมาก ไม่เคยถอนฟันเลย หรือว่าท่านเป็นโรคเหงือกอักเสบ”“แต่ท่านก็ไม่เคยบ่นว่าฟันโยกหรือคลอนเลยนี่นะ ฉันได้ยินมาว่า คนที่เป็นโรคเหงือกมักจะมีเลือดออกตามไรฟัน หรือฟันโยกไม่ใช่หรือ”“นั่นน่ะซิ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    สมองควบคุมการตื่น-หลับอย่างไรคนเราจำเป็นต้องใช้เวลาส่วนหนึ่งเพื่อการพักผ่อน ถ้าทำงานโดยไม่ได้พักผ่อนเลย เราจะอ่อนเพลียและหมดแรง การพักผ่อนที่ดีที่สุด คือ การนอนหลับ ทำให้ร่างกายและจิตใจของเราสดชื่นและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพคุณเคยสงสัยหรือไม่ว่า บางครั้งร่างกายเราเพลียแสนเพลีย แต่ก็นอนไม่หลับ เพราะสมองคิดนั่นคิดนี่ ในทางตรงข้าม ขณะที่เราหลับอยู่ ก็สะดุ้งตื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    ลิ้นเป็นร่องคนบางคนอาจมีลิ้นแตกเป็นร่องหากเป็นร่องในแนวยาว (ตั้งฉากกับแนวริมฝีปาก) ดังภาพที่ 1 โดยไม่มีอาการเจ็บแสบ หรืออาการผิดปกติอื่นใด ก็ถือเป็นเรื่องปกติธรรมดา ไม่ได้เป็นโรคอะไรเด็กที่เป็นโรคปัญญาอ่อน หน้าตาดูแปลกๆ มาตั้งแต่เกิดดังที่เรียกว่า โรคดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome) อาจพบลิ้นแตกเป็นร่องขวาง ดังในภาพที่ 2
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    เมื่อไหร่คุณควร “ปฏิเสธ” การผ่าตัดโดยปกติแล้วแพทย์ของคุณ คือ คนแรกที่จะให้คำแนะนำและข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัด แต่ท้ายสุด “คุณ” ต่างหากที่ต้องตัดสินใจว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการผ่าตัดครั้งนี้จะคุ้มค่ากับการเสี่ยงของคุณหรือไม่ ลองมาดูกันซิว่า เมื่อไหร่คุณถึงควรจะปฏิเสธการผ่าตัด“คุณสำออยครับ ลูกคุณเป็นทอนซิลอักเสบเฉียบพลันถึง 4 ครั้งแล้วในรอบปีนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    การตรวจรักษาอาการซีด (ตอนจบ)สาเหตุของอาการซีด ซึ่งได้นำเสนอไว้ในครั้งที่แล้วนั้น ก็แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ซีดจากเลือดไปเลี้ยงน้อยลง และซีดจากโรคเลือดจาง ครั้งนี้ก็มาถึงการตรวจรักษาอาการซีด ซึ่งมีขั้นตอนและวิธีการดังนี้การตรวจรักษาอาการซีดจำเป็นต้องแยกผู้ป่วยที่มีอาการซีดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ก่อน (ดูแผนภูมิที่ 1) เพื่อแยกว่า ผู้ป่วยซีดเพราะเลือดไปเลี้ยงน้อยลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    สะพานข้อมูลไทย-ลาวในครั้งที่แล้วผมได้เกริ่นเอาไว้ถึงระบบเฝ้าระวังโรคของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ส.ป.ป.ล.) ว่าเขามีความพยายามที่จะเริ่มทำแบบใหม่ แต่ไม่สำเร็จ ผมก็พยายามวิเคราะห์ว่าต้องมีปัญหาอะไรแน่ จึงทำให้การริเริ่มหลายครั้งหลายครา ประสบความล้มเหลวปัจจัยหลักที่ผมคิดว่าเป็นไปได้มาก คือ ผู้เชี่ยวชาญที่มาเป็นที่ปรึกษาให้เขา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    แพทย์จีนสมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ปลายสมัยจ้านกัวะ (พ.ศ.68-332) ผลจากสงครามอันยาวนานระหว่าง 7แคว้น ในที่สุดไม่มีแคว้นใดที่สามารถต้านทานแสนยานุภาพของแคว้นฉินได้ จึงถูกฉินปราบจนราบคาบ และ พ.ศ.332 (ก่อนคริสต์ศักราช 221 ปี) ไหลเจินได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นกษัตริย์ และทำการรวบรวมจีนให้เป็นปึกแผ่น กษัตริย์พระองค์นี้ คือ ฉินสื่อหวง (จิ๋นซีฮ่องเต้) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    หลักการให้นมผสมการเลี้ยงเด็กอ่อนและทารกด้วยนมผสมมีหลักเกณฑ์เหมือนกับการเลี้ยงด้วยน้ำนมแม่ คือ1. ผู้ให้นมอยู่ในท่าที่สบาย กอดอุ้มให้ก้นทารกอยู่บนตัก ลำตัวแนบชิดกับอก เพื่อให้ทารกได้รับการสัมผัสและความอบอุ่น2. ถือขวดนมให้เกือบตั้งตรง ไม่ให้มีอากาศในขวดนมที่ทารกจะดูดเข้าไป เพราะจะทำให้ท้องอืดได้3. ในระยะแรกเกิด เด็กอ่อนจะให้ดื่มนมครั้งละ 1-2 ออนซ์ (1-2 ขีดข้างขวด) ทุก 2-3 ชั่วโมง ต่อมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 128 ธันวาคม 2532
    คุณแม่มีน้องใหม่เมื่อลูกแก้วอายุขวบกว่า คุณแม่ก็เริ่มตั้งท้องอีกสิ่งหนึ่งที่เราวิตก คือ ลูกแก้วจะอิจฉาน้องหรือไม่ เรื่องเด็กอิจฉาน้องเราได้ยินได้ฟังตลอดจนได้เห็นตัวอย่างมามากต่อมากญาติผมคนหนึ่งเมื่อคลอดลูกคนที่ 2 ก็ให้นอนบนเบาะของลูกคนแรก พอทีเผลอลูกคนโตก็มาดึงเบาะคืน ผลหรือครับ ลูกน้อยวัย 7 วันปากแตก ส่วนคนโตก็ก้นลายเพราะถูกคุณพ่อหวดลูกหมอบ้านใกล้กันคนโตอายุ 5 ขวบ เป็นเด็กเฉลียวฉลาดร่าเริง ...