แพทย์แผนจีน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    หลังจากตรากตรำงานหนักมาตลอด ๕ วัน ต้องตื่นเช้าไปทำงาน หรือเรียนหนังสือ ดังนั้น พอถึงวันศุกร์-เสาร์ ชีวิตของคนทำงานหรือคนในเมืองส่วนใหญ่ก็จะพักผ่อน ดูโทรทัศน์ ดูหนัง ท่องอินเทอร์เน็ต นัดสังสรรค์ เที่ยวกลางคืนจนดึกดื่นเลยเที่ยงคืน แล้วนอนเต็มที่ วันรุ่งขึ้นตื่นนอนตอนสาย บางคนเลยเที่ยงวันไปก็มี ไม่ต้องกินมื้อเช้าน่าเป็นห่วงว่าเด็กสมัยนี้จำนวนมากมีวิถีชีวิตแบบนี้ โดยเฉพาะเด็กมหาวิทยาลัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    "การโฆษณาสรรพคุณรังนกและกินกันแบบผิดๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    เชื่อกันว่าชาวจีนนิยมกินรังนกกันมานานกว่า ๒,๐๐๐ ปี ซึ่งแพทย์จีนจะเขียนใบสั่งยาโดยมีรังนกเป็นส่วนผสมด้วย เพราะเชื่อว่ารังนกสามารถรักษาโรคทางเดินหายใจ บำรุงสุขภาพเด็กที่ไม่แข็งแรงปัจจุบันคนเอเชียส่วนหนึ่งใช้รังนกเป็นยาบำรุงปอดและเลือดฝาด ใช้บำรุงกำลังเด็ก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ปัญหาการนอนหลับ (ตอนที่ ๖)นอนดึกตื่นสาย ทำลายภูมิคุ้มกันร่างกาย(熬夜, 睡懒觉, 会降低免疫力)หลังจากตรากตรำงานหนักมาตลอด ๕ วัน ต้องตื่นเช้าไปทำงาน หรือเรียนหนังสือ ดังนั้น พอถึงวันศุกร์-เสาร์ ชีวิตของคนทำงานหรือคนในเมืองส่วนใหญ่ก็จะพักผ่อน ดูโทรทัศน์ ดูหนัง ท่องอินเทอร์เน็ต นัดสังสรรค์ เที่ยวกลางคืนจนดึกดื่นเลยเที่ยงคืน แล้วนอนเต็มที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    คนทั่วไปไม่เข้าใจความสำคัญของการนอนหลับ มองว่าการนอนหลับเป็นเรื่องปกติ ง่วงเมื่อไหร่ก็นอน ช่วงไหนมีงานมาก ใกล้สอบ งานเร่ง ต้องอดนอนทำงานให้เสร็จ ค่อยไปนอนชดเชยภายหลัง ไม่น่าจะมีอะไรซับซ้อน แต่การนอนหลับจะกลายเป็นปัญหาก็ต่อเมื่อเกิดนอนหลับยากขึ้นมา อยากจะหลับก็ไม่หลับ ต้องอาศัยยานอนหลับ จนขาดยาไม่ได้ บางครั้งได้ยานอนหลับ หลับไปได้ทั้งคืน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    การนอนหลับวิธีบำรุงรักษาพลังหยางที่ดีที่สุด(睡觉是养护阳气最好的办法)พลังหยาง (阳气) คือพลังของชีวิต ในวัยเด็กพลังหยางค่อยๆ สะสมตัว เด็กเจริญเติบโตมีพละกำลังคล่องแคล่วว่องไว ไม่เหนื่อยง่าย จนพลังหยางสูงสุดในวัยหนุ่มสาว และเข้าสู่วัยกลางคน พลังหยางก็เริ่มถดถอยลดน้อยลง ร่างกายก็ไม่กระฉับกระเฉง ความคิดอ่าน ความจำ ความว่องไวทางประสาท สมอง ก็ลดลงเรื่อยๆ ถึงวัยชราภาพ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    การนอนหลับที่ดีต้องเป็นการนอนหลับที่ลึก จึงจะเป็นการนอนหลับที่มีคุณภาพ บางคนหลับๆ ตื่นๆ ตกใจตื่นง่าย แม้มีเสียงรบกวนจากภายนอกเพียงเล็กน้อย บางคนนอนหลับแต่ฝันตลอดทั้งคืน (เป็นการหลับตื้น ไม่มีคุณภาพ) ลักษณะของความฝันก็บ่งบอกภาวะสุขภาพร่างกาย และจิตใจได้เหมือนกันลองพิจารณาว่า ตนเองเป็นคนหลับตื้นหรือหลับลึก และหลับมีคุณภาพหรือไม่๑. ใช้เวลาเข้าสู่การหลับเร็วหรือไม่ บางคนพอล้มตัวนอนก็หลับทันที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    นอกจากปัญหาการนอนไม่หลับแล้ว คนบางคนกลับมีปัญหาตรงกันข้าม กลับทิศกลับทางไปอีกแบบคือ อยากจะนอนตลอดเวลา นั่งอยู่เฉยๆ เผลอแป๊บเดียว หลับไปแล้ว กลุ่มนี้มักมีสุภาษิตอยู่ในใจว่า “นั่งดีกว่ายืน เอนตัวดีกว่านั่ง นอนดีกว่าเอนตัว” ความจริงคนที่อยากจะนอนตลอดเวลาก็จัดเป็นความผิดปกติอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งต้องการการรักษาและปรับสมดุลเช่นเดียวกันการแยกแยะอาการและการวินิจฉัยโรคแบบแผนปัจจุบัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 379 พฤศจิกายน 2553
    โรคอัมพาตใบหน้า (面瘫)ทัศนะแพทย์แผนจีน (๒)ได้กล่าวถึงสาเหตุ การรักษา การดำเนินโรค และความชุกของการเกิดโรคอัมพาตใบหน้าทัศนะแผนปัจจุบันไปแล้ว ฉบับนี้ว่าด้วยทัศนะแพทย์แผนจีนโรคอัมพาตใบหน้าทัศนะแพทย์แผนจีนแพทย์จีนเรียกอาการปาก ตา บิดเบี้ยว (口眼歪斜症) หรืออัมพาตใบหน้า (面瘫)สาเหตุของการเกิดโรค๑. ส่วนใหญ่เกิดจากบริเวณใบหน้ากระทบกับลมและความเย็น (风寒) เป็นการกระทบของลมต่อเส้นลมปราณจิงลั่ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมา มีรายการโทรทัศน์สัมภาษณ์ดารานักแสดงที่เป็นอัมพาตบริเวณใบหน้า มีอาการปิดตาไม่สนิทและปากเบี้ยว เวลากินอาหารแล้วมีน้ำลายไหลออกทางมุมปากข้างเดียวกับตาที่ปิดไม่สนิทโรคนี้รู้จักกันมากว่า ๒๐๐ ปีแล้ว โดย นายแพทย์ชาร์ล เบลล์ (Charles Bell) นักกายวิภาคศาสตร์ชาวสกอตแลนด์ ซึ่งเป็นคนแรกที่ได้รวบรวมผู้ป่วยกลุ่มนี้ขึ้น ในปี พ.ศ.๒๓๖๔ จึงให้เกียรติเรียก อัมพาตใบหน้าประเภทนี้ว่า ...