โรคหัวใจ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    สมาพันธ์หัวใจโลก (World Heart Federation) องค์กรระดับโลกที่ทำหน้าที่รณรงค์ต่อสู้โรคหัวใจและอัมพาตให้แก่ชาวโลก ได้ถือเอาวันอาทิตย์สุดท้ายเดือนกันยายนของทุกปี เป็น "วันหัวใจโลก" ซึ่งได้เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๓ ปีนี้จึงเป็นการครบรอบ ๑๐ ปีของการจัดงานวันหัวใจโลก สำหรับปีนี้ "วันหัวใจโลก" ตรงกับวันอาทิตย์ที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓, World Heart Day: Sun 26th September 2010 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 373 พฤษภาคม 2553
    หลอดเลือดหัวใจ (coronary artery) เป็นหลอดเลือดแดง นำเลือดไปเลี้ยงหัวใจ ซึ่งประกอบด้วย กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อต่างๆ เพื่อให้หัวใจสามารถทำหน้าที่ได้เป็นปกติ ถ้าหลอดเลือดหัวใจเกิดการตีบตันจะทำให้หัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 363 กรกฎาคม 2552
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 67เดือนมิถุนายนของทุกปี จะเป็นช่วงที่มีแพทย์รุ่นใหม่เข้ารับการศึกษาอบรมเป็นแพทย์ประจำบ้านในสถาบันฝึกอบรมต่างๆ จึงเป็นธรรมดาที่จะมีผู้ป่วยแออัดในห้องฉุกเฉินและในห้องตรวจโรคอื่นๆ ของสถาบันฝึกอบรมเหล่านั้น เพราะแพทย์ที่เพิ่งเข้ามายังไม่คุ้นกับระบบและวิธีการในสถาบันที่แตกต่างกันไป และมักจะเป็น " มือใหม่หัดขับ" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 359 มีนาคม 2552
    จากการศึกษา InterHeart ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันจาก 52 ประเทศ พบว่า คอเลสเตอรอล แอลดีแอลในเลือดที่สูง และ/หรือเอชดีแอลที่ต่ำ เพิ่มโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ กล้ามเนื้อหัวใจตาย อาจจะมากกว่าเบาหวาน ความดันโลหิตสูง บุหรี่ และความอ้วน เสียอีกการตรวจไขมันในเลือดผิดปกติ ตรวจหาอะไรเวลาจะตรวจไขมันว่าผิดปกติหรือไม่ มักจะถูกเจาะเลือดส่งไปตรวจระดับไขมันในเลือด 3 ชนิด คือคอเลสเตอรอล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 356 ธันวาคม 2551
    โรคหัวใจและหลอดเลือดกำลังคุกคามสุขภาพคนไทยอย่างหนัก โรคหัวใจคร่าชีวิตชาวไทยชั่วโมงละ 5 คน ผู้คนทั่วโลกตายนาทีละ 33 คน ต้นเหตุที่เป็นชนวนก่อเกิดของโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่สำคัญที่สุดคือ โรคน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วน เพราะการกินกับการใช้พลังงานไม่สมดุลกันประเทศไทยได้กำหนดเป้าหมายหลักเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือดไว้ในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2550-2554 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    เรื่องนี้เขียนจากประสบการณ์เพื่อเป็นอุทาหรณ์สำหรับบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะสูงวัยแล้วหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้เพราะโรคหัวใจนั้นไม่เลือกเพศเลือกวัย แต่จะกล่าวถึงเฉพาะโรค "หลอดเลือดหัวใจตีบตัน" ซึ่งเกิดกับตัวเองจนต้องเข้ารับการผ่าตัดที่โรงพยาบาลศิริราชฉบับที่แล้วได้เล่าถึงที่มาที่ไปของอาการต่างๆ ที่เกิดกับตัวเองจนกระทั่งต้องไปทดสอบสมรรถภาพร่างกายและการฉีดสีเอกซเรย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 349 พฤษภาคม 2551
    เรื่องนี้เขียนจากประสบการณ์เพื่อเป็นอุทาหรณ์สำหรับบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะสูงวัยแล้วหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้เพราะโรคหัวใจนั้นไม่เลือกเพศเลือกวัย แต่จะกล่าวถึงเฉพาะโรค "หลอดเลือดหัวใจตีบตัน" ซึ่งเกิดกับตัวเองจนต้องเข้ารับการผ่าตัดที่โรงพยาบาลศิริราชผลจากการผ่าตัดดังกล่าว นอกจากได้หัวใจที่ดีกลับคืนมาแล้ว ยังมีความเชื่อมั่นเพิ่มขึ้นอีกว่าประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    มาเป็นหมอกันเถิดนพ.สันต์ หัตถีรัตน์แน่นอก นอนไม่หลับ...เพราะห่วงหลานตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๔๙ เช้าวันหนึ่ง ในการตรวจเยี่ยมผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน แพทย์ประจำบ้านได้พา ไปดูผู้ป่วยรายหนึ่งที่กำลังนอนกระสับกระส่าย หายใจเร็วเป็นพักๆ หน้านิ่วคิ้วขมวด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 46 ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 42 ปี ครึ่งนั่งครึ่งนอนอยู่บน เตียงเข็นในห้องฉุกเฉิน ผู้ป่วยมาที่ห้องฉุกเฉินตั้งแต่ตอนสายๆ ด้วยอาการเจ็บแน่นในอกมาหลายวัน และเพิ่งออกจากโรงพยาบาลอีกแห่งหนึ่งเมื่อ 2-3 วันก่อน หลังจากไปพักรักษาตัวอยู่ที่นั่นเป็นเวลา3 วันแพทย์ประจำบ้านที่ห้องฉุกเฉินได้ตรวจผู้ป่วย แล้วไม่แน่ใจว่าผู้ป่วยเจ็บแน่นอกจากอะไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันเป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆ ของโลกและของประเทศไทย นอกจากนี้โรคหัวใจและหลอดเลือดยังเป็นเหตุทำให้มีความเสียหายทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งค่ารักษาพยาบาลและการสูญเสียความสามารถในการทำงานโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน เป็นภาวะที่มีการ ตีบตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ โดยมีสาเหตุส่วน ใหญ่มาจากการแข็งตัวของหลอดเลือด (atherosclerosis) เมื่อมีการตีบตันของหลอดเลือดหัวใจถึงระดับที่สำคัญ ...