โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 376 สิงหาคม 2553
    หิดเป็นโรคติดเชื้อพยาธิ (ปรสิต) ของผิวหนังชนิดหนึ่ง ที่มีมาแต่เก่าก่อน และยังคงพบการระบาดในหมู่คนที่อยู่กันแออัดและขาดสุขนิสัยที่ดี เช่น ตามวัด โรงเรียน โรงงาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 372 เมษายน 2553
    พบว่ามีผู้ที่มีตุ่มคันที่เกิดจากหมัดกัดได้บ่อย ลักษณะของตุ่มหมัดกัดจะเป็นตุ่มคันที่เป็นตุ่มแดงนูน มีจุดตรงกลาง ตุ่มขึ้นเป็นหย่อมอยู่ใกล้เคียงกัน และมีประวัติใกล้ชิดกับสุนัข นอกจากถูกหมัดสุนัขกัดแล้ว คนเรายังถูกหมัดแมว หมัดหนู และหมัดคนกัดได้การถูกหมัดกัดนอกจากทำให้เกิดตุ่มคันแล้ว ยังนำโรคติดเชื้ออื่นๆ ได้ด้วย เช่น กาฬโรค ไข้ไทฟัสหนู และนำโรคพยาธิตัวตืดบางชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 372 เมษายน 2553
    โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคติดเชื้อร้ายแรงที่ไม่มีทางเยียวยารักษา ผู้ป่วยทุกรายที่มีอาการแสดงของโรคนี้มักจะเสียชีวิตภายในเวลาสั้นๆแม้ว่าจะไม่มีทางรักษา แต่โรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดยาป้องกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 349 พฤษภาคม 2551
    ระยะไม่ถึงเดือนที่ผ่านมานี้มีข่าวพาดหัวชวนให้น่ากลัวต่อสัตว์เลี้ยงที่มีอยู่ในบ้าน ทำให้หลายคนมองหน้ากันไม่สนิทไปหลายวัน หรือบางรายถึงกับอัปเปหิสัตว์ที่เคยเลี้ยงออกไประเห็ดเตร็ดเตร่เป็นสัตว์ "จรจัด" เดือดร้อนพระสงฆ์ต้องรับเลี้ยงแมวที่เจ้าของทิ้ง ด้วยเหตุของโรคหวัดแมวและโรคหัดแมว โรคลึกลับ (ข่าวว่าไว้) ที่ทำให้แมวล้มตายเป็นร้อยๆ (บางฉบับว่า500 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    พิษสุนัขบ้าน่ากลัวกว่าที่คิดสุนัขนับเป็นสัตว์เลี้ยงที่น่ารักและซื่อสัตย์ประเภทหนึ่ง แต่อาจนำอันตรายหรือโรคร้ายที่คาดไม่ถึง โดยเฉพาะในเด็ก ซึ่งชอบเล่นกับสุนัขหรือสัตว์อื่นๆ โดยไม่ทันระวังตัว ดังนั้น เด็กจึงเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสจะถูกสุนัขกัดสูง มาตรการในการป้องกันจึงควรมุ่งมาที่เด็ก เช่น การให้ความรู้ในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการถูกกัด นอกจากนั้น เจ้าของสุนัขเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ป้องกันมาลาเรียถาม : นารี/สมุทรปราการลูกชายจะไปเข้าค่ายที่จังหวัดจันทบุรี ๓ วัน ได้ข่าวว่าที่นั่นก็คือพื้นที่ชุกชุมของไข้มาลาเรีย ดิฉันต้องการทราบว่า จะป้องกันไม่ให้ลูกชายติดไข้มาลาเรียได้อย่างไร ตอบ : นพ.รักษ์พงศ์ เวียงเจริญก่อนอื่นขอบอก ณ ตรงนี้เลยว่า พื้นที่ชุกชุมไข้มาลาเรียมีหลายจังหวัด เช่น ตาก สุราษฎร์ธานี กาญจนบุรี ยะลา จันทบุรี แม่ฮ่องสอน นครศรีธรรมราช กระบี่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 295 พฤศจิกายน 2547
    เล็ปโตสไปโรซิสเล็ปโตสไปโรซิส หรือไข้ฉี่หนู ความจริงเป็นโรคติดต่อที่มีมาแต่เก่าก่อน แต่เพิ่งจะมาโด่งดังในช่วงไม่กี่ปีมานี้ เนื่องเพราะมีคนที่เจ็บป่วยด้วยโรคนี้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างผิดสังเกต โดยเฉพาะในพื้นที่หลายจังหวัดทางภาคอีสาน และขณะนี้ก็พบในทุกภูมิภาคแล้ว ในช่วงเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดภาวะน้ำท่วมหรือมีน้ำขัง อาจพบโรคนี้แพร่กระจายได้มากขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    โรคพิษสุนัขบ้า อันตรายจากสัตว์ใกล้ตัวเมื่อพูดถึง "โรคพิษสุนัขบ้า" เชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าไม่ใช่มีเฉพาะในสุนัขเท่านั้น ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด ก็มีเชื้อไวรัสพิษสุนัขบ้า ซึ่งมีทั้งชนิดที่คนเลี้ยงไว้ใกล้ตัว และเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ที่คนเลี้ยงไว้ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว กระรอกสัตว์ป่าที่อยู่ตามธรรมชาติ เช่น ค้างคาว ชะมด หนู ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    งูพิษ-สัตว์มีพิษถาม : อารีวรรณ/ราชบุรีบ้านดิฉันอยู่ในสวน มีสัตว์มีพิษหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ตะขาบ แมงป่อง และงู ชุกชุมมากในฤดูน้ำหลากจะพบมากเป็นพิเศษ บางครั้งคนในละแวกบ้านถูกกัดตอนกลางคืน ยังไม่รู้เลยว่าถูกสัตว์ชนิดใดกัด สังเกตได้อย่างไรว่าถูกสัตว์มีพิษชนิดใดกัดตอบ : กองบรรณาธิการสัตว์มีพิษชนิดต่างๆ บางครั้ง ถ้าดูเผินๆ อาจจะมีพิษและไม่มีพิษ ขอเริ่มด้วยเรื่องของงูก่อนงูเห่า หัวมน คอสั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 290 มิถุนายน 2546
    ไข้เลือดออกหน้าฝนกำลังย่างกรายมา มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญบางท่านเตือนว่าให้ระวังโรคปอดบวมมรณะ หรือซาร์ส เพราะเชื้อไวรัสตัวนี้อาจแพร่พันธุ์ได้ดีเมื่อพ้นฤดูร้อนไปแล้ว จึงควรดำเนินมาตรการเข้มในการป้องกันโรคนี้ต่อไปจนกว่าจะแน่ใจว่าประเทศไทยปลอดซาร์สจริงๆแล้ว อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีโรคที่พบประจำในฤดูฝนเจ้าเก่าอีกหลายโรค เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก เป็นต้น ...