บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    อะไร...อะไร อยู่ตรงไหนในช่องท้อง?คุณผู้อ่านเคยคิดไหมว่า ถ้ามีใครเอามีดมาแบ่งครึ่งตามขวางบริเวณช่องท้อง หรือแบ่งครึ่งตามยาวจากช่องท้องถึงทวารหนักของร่างกายคนเรา คุณจะเห็นอะไรบ้างในร่างกาย ภาพข้างบนเป็นภาพแสดงการแบ่งครึ่งตามขวางและตามยาวของร่างกาย คุณลองจับคู่หมายเลขกับชื่ออวัยวะที่ให้มานั้นดูซิว่า อวัยวะที่ถูกแบ่งครึ่งนั้น คุณทราบหรือไม่ว่าส่วนไหนมีชื่อเรียกว่าอะไร1. ________________ - ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    มาสอนลูกน้อยให้ว่ายน้ำหลายท่านคงอดนึกเอ็นดูไม่ได้กับโฆษณาชุดหนึ่งที่สื่อให้เห็นเด็กน้อยอายุประมาณ 6 เดือนกำลังแหวกว่ายอยู่ในสระน้ำอย่างร่าเริง หลายคนคงสงสัยว่าจะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด แต่ภาพที่เห็นนี้ไม่เกินเลยจากความเป็นจริง จากการได้สัมภาษณ์นาวาเอกนายแพทย์สุริยา ณ นคร รองหัวหน้ากองเวชศาสตร์ใต้น้ำ กรมแพทย์ทหารเรือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    โภชนาการ หมายถึง อาหารที่เข้าสู่ร่างกายมนุษย์ แล้วร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การค้ำจุน และการซ่อมแซมส่วนต่างๆ ของร่างกายดังนั้นการได้กินอาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่วน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับมนุษย์ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรงคอลัมน์ “กินถูก...ถูก” ได้รับความร่วมมือจากสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ฉบับนี้เสนอเรื่อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    การตรวจรักษาอาการขนร่วง ขนดกผิดปกติในฉบับก่อนๆ ได้กล่าวถึงเรื่องผมหงอก ผมร่วง และผมผิดปกติอื่นๆ ครั้งนี้จะกล่าวถึงเรื่องขน เพื่อปิดท้ายรายการเกี่ยวกับเรื่องผมและขนให้จบ เพราะผมก็คือ ขน นั่นเอง แต่เป็นขนที่ไม่งอกหรือขึ้นบนศีรษะเท่านั้นสำหรับขนในที่ส่วนอื่นๆ ของร่างกายก็มีประโยชน์พอๆ กับผม หรืออาจจะน้อยกว่าผมเสียด้วยซ้ำ ที่พูดนี้หมายถึงประโยชน์ทางชีววิทยา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    เน่ยจิง กับงานนิพนธ์ของฮิปโปเครตีสฮิปโปเครตีส (Hippocrates) มีชีวิตอยู่ในยุคกรีกโบราณราว 355-460 ปีก่อนคริสตศักราช เขามีผลงานทางการแพทย์ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป และได้สมญาว่า บิดาแห่งการแพทย์ตะวันตก งานนิพนธ์ของฮิปโปเครตีส เป็นผลงานที่ฟอส (Anutius Foes) ได้ใช้เวลาถึง 40 ปี ในการศึกษารวบรวมและเรียบเรียงขึ้น ตีพิมพ์ในปี พ.ศ.2138 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    ไปเบิ่งแพทย์ลาวที่เวียงจันทน์ (ตอนที่ 5)แพทย์หญิงบุญยงค์ บุปผา รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ ได้บอกให้คณะของเราทราบว่า คณะแพทยศาสตร์ แห่งกรุงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นคณะแพทย์ฯ แห่งเดียวในประเทศนี้ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2512 ได้ผลิตแพทย์ชั้นสูง (ระดับปริญญา) ไปแล้ว 13 รุ่น จำนวน 607 คน รุ่นที่ 14 กำลังจะจบอีก 107 คน ดังนั้นจำนวนแพทย์ชั้นสูงทั่วประเทศมีจำนวน 900 คนเศษ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    อาหารทารก (ตอนที่ 2)ตารางที่ 1 ชนิดอาหารเสริมที่ทารกแต่ละวัยควรได้รับอาหารชนิดอาหาร1-3 เดือน4 เดือน5 เดือน6 เดือน7-8 เดือน 9 เดือน10-12 เดือนน้ำนมแม่กล้วยน้ำว้าสุกครูดเอาแต่เนื้อๆ อาจผสมข้าวครูดเล็กน้อย หรือข้าวครูดใส่น้ำแกงจืด น้ำซุปที่ไม่มีพริกไทยและผงชูรสข้าวครูดกับไข่แดงต้มสุก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    จะไม่ต้องตัดขา ถ้าอดบุหรี่ได้“ผมไม่ยอม” ผู้ป่วยตะโกนลั่นห้องตรวจเมื่อนักศึกษาแพทย์พยายามอธิบายเหตุผลว่าทำไมเราจะต้องตัดขาของเขาเขาเป็นชายวัยกลางคน มีอาการหลอดเลือดที่เท้าขวาอุดกั้น นิ้วเท้าและตัวเท้าเหี่ยวแห้งและเป็นสีดำคล้ำไปจนถึงข้อเท้า นิ้วหัวแม่เท้าซึ่งด้วนกุดถึงโคนนิ้วมีน้ำหนองไหลเยิ้ม ส่งกลิ่นเหม็น เท้าข้างซ้ายแม้จะยังดีอยู่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    กินอะไรกันนักหนา พาให้เกิดโรคท่านผู้อ่านที่เคยเดินผ่านตามร้านอาหารประเภท “แซ่บ” ทั้งหลายคงจะเห็นมีผู้คนอุดหนุนมากมาย สังเกตดูดีๆ ก็จะเห็นว่ามีอาหารที่ล้วนแต่กินแล้วรู้สึก “แซ่บ” เช่น ข้าวเหนียว ส้มตำ ลาบ เนื้อน้ำตกที่มักจะเรียกว่า “เสือร้องไห้” ลาบที่ว่าก็ใช่จะเป็นลาบธรรมดา แต่เป็นลาบเลือด สีแดงแจ๋เลยครับวิธีทำก็ไม่ยาก คือ ทำลาบธรรมดาเสร็จแล้ว ใครต้องการ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    ความรู้สึก ที่ทุกคนควรจะได้สัมผัสเมื่อถึงช่วงเวลาที่พระสงฆ์เข้าพรรษาคราใด ทำให้ข้าพเจ้าอดที่จะรำลึกถึงเหตุการณ์เมื่อประมาณ 20 ปีที่แล้วมาไม่ได้ เป็น “ครั้งหนึ่งในชีวิต” ซึ่งมีคุณค่า เป็นความรู้สึกที่ฝังใจ ควรแก่การจดจำและอยากจะให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นทุกขณะจิตที่มีลมหายใจเข้า-ออกอันว่าพุทธศาสนิกชนที่เป็นชายไทยทั่วไป มักจะหาโอกาสสักครั้งหนึ่งเพื่อที่จะ “บวชเรียน” ...