บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 124 สิงหาคม 2532
    วิ่ง...ครั้งแรกหลายคนที่เริ่มวิ่งครั้งแรก ก็เกิดปัญหาว่า ภายหลังการวิ่งจะปวดเมื่อยขามากจนแทบจะเดินไม่ไหวในวันต่อมา อาการที่เป็นกันบ่อยๆ ได้แก่ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อน่อง กล้ามเนื้อต้นขา เจ็บเข่า เจ็บข้อเท้า เจ็บเอ็นร้อยหวาย เจ็บส้นเท้า บางรายปวดหลังก็มี บางรายปวดเจ็บเป็นสัปดาห์ พอทุเลาไปเริ่มวิ่งใหม่ ก็เป็นอีก หลายรายเลยบอกศาลา เลิกวิ่งไปเลย แม้ใจจะอยากวิ่ง อยากวิ่งเพื่อสุขภาพเหมือนคนอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 กรกฎาคม 2532
    ออกกำลังมากเกิน ลดภูมิคุ้มกันโรคนักวิ่งที่ฝึกวิ่งไกลกว่า 60 ไมล์ต่อสัปดาห์ ป่วยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้นบ่อยกว่านักวิ่งที่วิ่งไม่เกินสัปดาห์ละ 20 ไมล์ เป็นที่ยอมรับทั่วไปว่า การออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจ แต่ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามหากไม่เดินทางสายกลางผลเสียย่อมเกิดขึ้น มีการค้นพบว่า การออกกำลังกายมากเกินไป ทำให้ภูมิคุ้มกันลดลงในหนูทดลองดร.เลียวนาร์ด โคเฮน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    วัฒนธรรมการแสวงหาความรู้คุยกับผู้อ่านครั้งนี้เขียนที่เจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ ผมไปประชุมกรรมการตัดสินโครงการสนับสนุนการวิจัยโรคเขตร้อนที่สำนักงานใหญ่องค์การอนามัยโลก โรคเขตร้อนเป็นปัญหากับคนจำนวนมากเป็นพันล้านคน เช่น โรคมาลาเรีย โรคเท้าช้าง โรคเรื้อน พยาธิปากขอ และพยาธิอื่นที่ไม่มีในบ้านเรา แต่มีมากในแอฟริกา ในอเมริกาใต้ และประเทศจีน เป็นต้น การที่จะควบคุมโรคเหล่านี้ได้ประเทศต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    “ควรเพิ่มถาม-ตอบให้มากกว่านี้”“อยากให้เรื่องจบในเล่ม”“เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ควรมีลงทุกเล่ม”“อยากให้แนะนำยาพื้นบ้านมากขึ้น”“หาเรื่องตลก ขำขันมาลงบ้าง เพื่อผ่อนคลายอารมณ์”“ปรับปรุงตัวหนังสือให้ตัวโตเพื่อคนสูงอายุ”“ควรมีการ์ตูนสุขภาพที่ชวนอ่าน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    สรุปสถานการณ์โรคเอดส์ในประเทศไทยจำนวนผู้ป่วยและผู้ติดเชื้อเอดส์ในประเทศไทย ถึงวันที่ 15 มิถุนายน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    เลิกกินแอปเปิ้ล กินผลไม้ไทยดีกว่ากระทรวงสาธารณสุขสั่งเก็บผลแอปเปิ้ลเพื่อตรวจหาสารอะล่าร์ ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งสารอะล่าร์ ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า ดามิโนไซด์ ถูกค้นพบและใช้กันมานานกว่า 20 ปีแล้วในการเกษตร เพื่อชะลอการเจริญเติบโตของลำต้น เร่งการออกดอก ป้องกันการร่วงหล่นของผลก่อนสุก และยืดอายุการเก็บรักษาของผลไม้ภายหลังการเก็บเกี่ยวสารอะล่าร์สามารถตกค้างอยู่ในแอปเปิ้ลได้นานถึง 100 วัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    ความสำคัญของการสัมผัสในวัยเด็กนักวิทยาศาสตร์ แพทย์ และพยาบาลได้ตั้งข้อสังเกตมานานแล้วว่า การกอดรัดสัมผัสที่พ่อแม่หรือคนเลี้ยงดูให้แก่ทารกนั้น ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตทั้งกาย ใจ และสติปัญญาของเด็ก “จูบคุณคิดว่าไม่สำคัญ จูบเบาๆ เท่านั้นทำให้ฉันสั่นไปทั้งทรวงใน”ครับ...นี่คือส่วนหนึ่งของเพลง “จูบ” ซึ่งเคยฮิตเมื่อสมัยหนึ่ง แม้ทุกวันนี้ก็เคยได้ยินกันอยู่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    หาความผิดปกติของยีนในตัวอ่อนโดยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมศาสตร์ในปัจจุบันโรคทางพันธุกรรมที่ร้ายแรงมักพบในระยะหลังๆ ของการตั้งครรภ์ ทำให้แม่ลังเลใจว่าควรทำแท้งหรือไม่ ดังนั้น การตรวจหาความผิดปกติเสียก่อนนำไปใส่ในมดลูกจะช่วยเหลือคู่สมรสได้ ปัจจุบันงานวิจัยด้านพันธุวิศวกรรมศาสตร์ได้พัฒนาไปอีกก้าวหนึ่งแล้ว เมื่อมีแนวโน้มว่า ได้สามารถสกัดแยกเซลล์เดี่ยวๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    หัวใจวาย ไตล้ม ตับวาย“ส.ส.หัวใจวาย ขณะอภิปรายกลางสภา”“โรคเบาหวานมักจะลงเอยด้วยภาวะไตล้ม”“ดื่มเหล้าจัด อาจทำให้ตับแข็ง ตับวายได้”ข้อความเหล่านี้คงเคยผ่านตาผู้อ่านกันมาบ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำว่า “หัวใจวาย”เมื่อปลายเดือนเมษายนก็มีข่าวดังไปทั่วโลกว่า ผู้นำจีนหัวใหม่ นายหูเย่าปัง เป็นโรคหัวใจวายตาย นักศึกษาจีนได้ถือโอกาสแห่งการอาลัยผู้นำท่านนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    โรคติดเชื้อและโรคไม่ติดเชื้อคนที่มาจากท้องถิ่นที่ต่างกันหรือมีการดำเนินชีวิตที่ต่างกัน จะเข้าใจและให้คำอธิบายเกี่ยวกับสาเหตุของโรคภัยไข้เจ็บไม่เหมือนกัน เพราะอะไรนะเด็กเล็กๆ คนหนึ่งจึงอุจจาระร่วง ชาวบ้านในชนบทเล็กๆ อาจจะบอกว่า เพราะพ่อแม่ของเด็กทำอะไรผิดไป ทำให้ผีสางนางไม้หรือเจ้าหน้าที่ทางการโกรธเคืองหมอ มักจะตอบว่า เพราะเด็กได้รับเชื้อโรคนักสุขาภิบาล อธิบายว่า ...