บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ผักพื้นบ้านไทย : ของดีที่ถูกทอดทิ้งคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าได้เสนอเรื่องต้นไม้ชนิดต่างๆ ต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่าปีแล้ว แต่ก็ยังมีต้นไม้อีกมากมายหลายชนิดที่น่าสนใจและสมควรนำมาเขียนในคอลัมน์นี้ อย่างไรก็ตาม กองบรรณาธิการนิตยสารหมอชาวบ้าน ได้แนะนำให้เขียนเรื่องผักพื้นบ้านของไทยบ้าง เพื่อช่วยกันรณรงค์ให้ชาวไทยหันมาบริโภคผักพื้นบ้านไทยกันมากขึ้น ดังนั้น ตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ดื้อเงียบครั้งนี้หมอจะขอยกเอาเหตุการณ์จริงที่เพิ่งประสบมากับตัวเอง มาสาธกให้พิจารณากัน เป็นเรื่องของเด็กชายคนหนึ่งอาจจะคล้ายกับเด็กที่ท่านเคยรู้จักหรือกำลังอยู่ในปกครองของท่าน อาจจะเป็นลูกเป็นหลานของท่าน หรือเป็นศิษย์น้อยๆ แม้เรื่องนี้จะไม่มีความน่าตื่นเต้นมากมายอะไร ทว่าก็นับเป็นเรื่องที่แฝงเร้นบางอย่างที่ไม่เล็กเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์เอาไว้ให้ชวนคิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    มะกรูดบำรุงผมคุณค่าของมะกรูดในการบำรุงเส้นผมนั้นอาจเป็นสิ่งที่หลายๆ ท่านรู้กันดีอยู่แล้ว เพราะแม้กระทั่งผู้ผลิตยาสระผมบางรายยังใช้เป็นประเด็นในการโฆษณาว่า แชมพูของตนผสมมะกรูด มะกรูดไม่เพียงแต่ทำให้ผมดำเป็นเงางามเท่านั้น แต่ยังช่วยกำจัดรังแคแก้คันศีรษะ แก้ผมแตกปลายป้องกันผมร่วง และทำให้ผมหงอกช้า มะกรูดเป็นสมุนไพรธรรมชาติ จึงไม่ต้องกลัวแพ้เหมือนแชมพูที่ทำจากสารเคมี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ยำปลาทูพอเอ่ยถึงปลาทู ดิฉันเชื่อได้ว่าแทบจะไม่มีใครไม่รู้จัก แม้กระทั่งเด็กตัวเล็ก และดูเหมือนจะเป็นปลาที่เรารู้จักเป็นชนิดแรก ที่ยอดฮิตก็คงจะหนีไม่พ้นน้ำพริกปลาทู ซึ่งเป็นอาหารของไทยเราแต่ดั้งเดิม ไม่ว่าจะยากดีมีจนก็มีโอกาสได้ลิ้มชิมรสกันทั้งนั้นจะว่าไปแล้วดิฉันคิดว่า ปลาทูน่าจะเป็นเพื่อนคู่ครัวของคนไทย วันนี้ดิฉันจึงเอาอาหารที่ปรุงจากปลาทูมาฝากชาวหมอชาวบ้าน นั่นคือ ยำปลาทู ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    อาการหวัดอาการหวัดเป็นได้กับทุกเพศ ทุกวัย และตลอดปี ทั้งฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว อาการที่พบบ่อย คือ จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ อาจจะมีไข้ต่ำๆ และมักหายไปภายในเวลา2-3 วัน เมื่อได้นอนพักผ่อนอย่างเพียงพอ อาการหวัดไม่ใช่ไข้หวัดใหญ่ซึ่งมีไข้สูง และรุนแรงจนล้มหมอนนอนเสื่อ ลุกไม่ขึ้น และอาจมีโรคแทรกซ้อนอื่นๆต้นเหตุของอาการหวัดยังไม่ทราบกันดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ไข้ทับระดู- ระดูทับไข้“คุณหมอคะ น้องสาวดิฉันที่คุณหมอฉีดยาแก้ไข้ไปเมื่อตะกี้นี้ พอกลับถึงบ้าน คุณแม่ดิฉันและเพื่อนบ้านต่างพูดใส่หูว่า เป็นไข้ทับระดู โบราณเขาห้ามฉีดยา ฉีดแล้วจะเป็นอันตรายน้องสาวตกใจหน้าซีดเลย ไม่ทราบว่าจะเป็นอะไรตามที่เขาว่าหรือเปล่าคะ?” ญาติคนไข้พาคนไข้กระหืดกระหอบกลับมาหาหมอหมอซักถามและตรวจดูอาการคนไข้ซ้ำอีกรอบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    เข็มขัดนิรภัย อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย “จะบีบหาสวรรค์วิมานอะไร...” สมชายรู้สึกสุดจะทนกับเสียงบีบแตรของบรรดาขบวนรถที่เข้าแถวยาวเหยียดยิ่งกว่าขบวนแห่ขันหมากบ่าวผู้มั่นคั่ง ความเย็นของแอร์ในรถรู้สึกจะไปมีผลทำให้ปริมาณเหงื่อของเขาลดลงเลยแม้สักหยด ความรุ่มร้อนในใจยิ่งทำให้ของรู้สึกเหมือนอยู่ในเตาอบดี ๆ นี่เอง “พ่อเย็นนี้อย่าลืมกลับบ้านให้เร็ว ๆ นะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)8วันนี่ก็ปาเข้าไปตั้งวันที่8 ของการเกิดปฏิสนธิแล้ว อะไรๆ ในมดลูกก็เปลี่ยนแปลงไปมากโขทีเดียว ถึงตอนนี้ตัวอ่อนบลาสโตซิสต์ (Blastocyst) หาที่ซุกตัวเพื่อรอการเจริญเติบโตต่อไปได้แล้ว และเพื่อให้การยึดเกาะแหล่งพำนักพักพิงในมดลูกเป็นไปได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    โฆษณาขนมกับเด็กทุกวันนี้โทรทัศน์ดูจะเป็นของใช้ประจำบ้านที่พบได้แทบทุกครอบครัว อาจเป็นเพราะว่าราคาของโทรทัศน์ไม่แพงนัก และเศรษฐฐานะของคนไทยดีขึ้น ดังนั้น โทรทัศน์จึงเป็นของสัญของบ้านที่ไม่ควรมองข้ามไปเลยที่เดียว โทรทัศน์ให้ทั้งข่าวสารและความบันเทิง ทั้งยังเป็นจุดรวมของครอบครัวไปด้วย ขณะที่พ่อแม่ผู้ปกครองหลายคนใช้ประโยชน์ของโทรทัศน์เป็นสื่อในการสอน และให้ความรู้แก่ลูกหลาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 5)อาการร้อน ๆ ของเดือนเมษา-พฤษภานี้ทรมานดีแท้ แล้วอาการยอดฮิตในหน้าร้อนอีกอาการหนึ่ง ก็คือเลือดออกที่จมูกหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เลือดกำเดา ซึ่งก็ได้นำการวินิจฉัยและการรักษาอย่างง่ายๆ มาเสนอดังต่อไปนี้5. เลือดออกที่จมูก : ถ้าเลือดออกจากบาดแผลภายนอกจากการถูกของมีคม การแกะ การบีบสิวเสี้ยนหรืออื่นๆ ...