บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    โรคที่เกิดจากการกินอาหารสำหรับประเทศด้อยพัฒนาอาจกล่าวได้ว่า ตัวเลขของจำนวนผู้ป่วยที่ปรากฏในรายงานเป็นเพียง 1 ใน 100 ของที่เกิดขึ้นจริง ขณะที่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ตัวเลขนี้เท่ากับ 1 ใน 10 ของที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจเลยว่า ผลกระทบของโรคที่เกิดจากอาหารสกปรก เป็นเรื่องที่ถูกมองข้ามเสมอมา อาหารที่ดีเป็นสิ่งจำเป็นต่อสุขภาพ และเป็นสิ่งอันน่ารื่นรมย์ที่สุดอย่างหนึ่งในชีวิตของคนเรา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    ป้องกันการตายกะทันหัน อาการแสดงของโรคหัวใจที่คุณไม่เคยได้ยินมาก่อนผู้ป่วยที่ไปถึงโรงพยาบาลทันเวลาร้อยละ 85 จะรอดตาย และยิ่งไปถึงเร็วเท่าใด อาการแทรกซ้อนก็จะยิ่งน้อยลงเท่านั้น ปวดขากรรไกร ข้ออ่อนปวกเปียก ปวดข้อศอก ปวดหลัง ลักษณะเหล่านี้เป็นอาการแสดงของโรคหัวใจได้หรือไม่นายแพทย์ฮาโรล์ด คาร์พแมน แห่งมหาวิทยาลัยการแพทย์ลอสแองเจลิส แคลิฟอร์เนีย กล่าวในหนังสือเล่มใหม่ที่ชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    โรคไม่แสดงอาการ (ตอนที่ 2)ครั้งที่แล้วได้กล่าวถึงโรคความดันเลือดสูงว่า เป็นโรคที่ไม่แสดงอาการ เปรียบเสมือน “มัจจุราชมืด” ที่คอยคุกคามชีวิตของผู้คนอย่างเงียบกริบ ครั้งนี้มาดูกันซิว่า ยังมีโรคอื่นๆ อะไรอีกบ้างที่เป็น “มัจจุราชมืด”“หมอตาเขายังไม่ยอมผ่าต้อกระจกของดิฉัน เพราะตรวจเลือดแล้วบอกว่าดิฉันเป็นโรคเบาหวาน เขาเลยส่งมาให้คุณหมอตรวจดูอีกครั้ง...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    นมแม่...หายไปไหนความรักระหว่างแม่กับลูกนั้นเป็นตำนานความรักอันยิ่งใหญ่มาเนิ่นนาน ลูกเปรียบปานแก้วตาดวงใจของแม่ ซึ่งจะได้รับการทะนุถนอมเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กเล็กเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่ง 3-4 ขวบเป็นวัยที่สำคัญมาก เพราะเป็นช่วงที่อายุสมองกำลังงอกงามและเกิดรากฐานทางจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยปัญญาและอารมณ์ เด็กจะฉลาดหรือโง่ เห็นแก่ตัวหรือเห็นแก่ผู้อื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    การตรวจรักษาอาการเขียวอาการเขียวในที่นี้หมายถึง การที่ผิวหนังหรือแลดูอวัยวะบางส่วนเป็นสีม่วง (ม่วงแดง หรือม่วงน้ำเงิน)ถ้าจะเทียบสีให้รู้ว่า สีม่วงที่กล่าวถึงนี้เป็นอย่างไร ให้ดูได้จาก1. ริมฝีปากของคนที่สูบบุหรี่มาหลายปี ริมฝีปากที่เคยแดงจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงหรือสีดำคล้ำกว่าปกติ2. ใช้หนังสติ๊ก (ยางยืด) รัดนิ้วก้อยไว้พักหนึ่ง ปลายนิ้วก้อยจะเป็นสีม่วงแม้ว่าจะดูเป็นสีม่วง แต่เรานิยมเรียกว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    การไม่มีประจำเดือนอายุ 25 ปี แล้วยังไม่เคยมีประจำเดือนเลยเพราะอะไรเคยมีประจำเดือนแล้วขาดหายไปเพราะอะไรทำไมประจำเดือนหมดเร็วทั้งที่อายุเพิ่ง 40 ปีการมีประจำเดือนครั้งแรกของสตรีที่ภาวะร่างกายปกติ จะปรากฏระหว่างอายุ 10-18 ปีหรือโดยเฉลี่ยประมาณ 13 ปี แต่ก็มีสตรีบางรายที่อายุ 25 ปี หรือมากกว่านี้ที่ยังไม่เคยมีประจำเดือนเลย ทั้งนี้อาจมีความผิดปกติในการทำงานของฮอร์โมนบางอย่างในร่างกาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    คันตาคันตาหรือคันนัยน์ตา เป็นอาการที่ทุกคนเคยเป็น เคยคันกันมาแล้วทั้งนั้น เมื่อคันแล้วก็อยากขยี้หัวตา เกาขอบตา อยากเอาลูกตาออกมานอกเบ้าแล้วเกาให้หายคันให้สมอยาก ให้สะใจไปเลย คันตาจะพบมากในเด็กเล็กๆ วัยรุ่น หรือวัยเรียน ผู้ใหญ่ก็เป็นได้ โดยมากมักจะคันบริเวณขอบตา เปลือกตา บางรายเป็นบ่อย เป็นแล้วเป็นอีก บางคนนานๆ เป็นครั้ง อาการคันตานั้นจะคันน้อย คันมาก แล้วแต่คน บางคนขยี้จนเยื่อตาแดง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    นมแม่เต้านม นอกจากจะเป็นเครื่องแสดงความเป็นสตรีเพศที่เห็นได้เด่นชัดที่สุดอย่างหนึ่งแล้ว ธรรมชาติยังได้สร้างกลไกภายใต้เต้านมเพื่อทำหน้าที่ผลิตน้ำนมมาใช้เลี้ยงทารกอีกด้วย ซึ่งประโยชน์ประการหลังนี้แท้จริงแล้วดูจะสำคัญกว่าประการแรกมากนัก จะเห็นได้ว่า ตัวอ่อน (ทารก) ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะได้เปรียบกว่าสัตว์ตระกูลอื่นตรงที่มีแม่ที่สามารถเตรียมอาหาร (นม) ซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการมากสำหรับตัวอ่อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    การเฝ้าระวัง : หู ตา ของการควบคุมโรคในครั้งก่อนๆ ผมได้เขียนถึงความหมายของการเฝ้าระวังโรคเอาไว้ แต่ยังไม่ได้มีโอกาสเขียนถึงขอบข่ายงาน และประโยชน์ของการนำไปใช้ว่ามีประโยชน์อย่างไรให้ทราบ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้ ก็ขอถือโอกาสนี้นำมาเสนอเสียเลย อีกทั้งต้องการบอกว่า การเฝ้าระวังโรคนี้เป็นสิ่งที่ทุกคนอาจให้ความร่วมมือเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายด้วยก็ได้การเฝ้าระวังโรคหมายถึงอะไรการเฝ้าระวังโรคนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 130 กุมภาพันธ์ 2533
    รังแครังแค คือ ขุยขาวบริเวณหนังศีรษะซึ่งเกิดจากความผิดปกติของเซลล์หนังศีรษะที่เกิดมีการแบ่งตัวมากขึ้น แล้วลอกหลุดออกเป็นขุยมองเห็นได้บริเวณโคนผม ถ้าเป็นมากจะร่วงลงมาเกาะอยู่บริเวณเสื้อผ้า ที่ต้นคอและไหล่ โดยเฉพาะเมื่อเวลาหวีหรือแปรงผม รังแคไม่ใช่โรคร้ายแรง บางคนเป็นเล็กน้อยและเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ไม่นานก็หายไปเอง แต่ถ้าเป็นมากจนคนสังเกตเห็นและเป็นๆ หายๆ อยู่เป็นประจำ ...