บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    กระดูกสันหลังเคลื่อนหลังอายุ 30 ปี ดิฉันมีอาการเดินไม่ค่อยสะดวก ดิฉันสงสัยว่าอาจเป็นเพราะเคยตกบันไดสูง หรือไม่ก็คงเป็นมาแต่กำเนิด อยากทราบว่าคนที่มีปัญหากระดูกสันหลังสามารถบริจาคเลือดได้ไหมผู้ถาม วิภาภรณ์/สมุทรปราการผู้ตอบ นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์ถามดิฉันขอถามปัญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลังค่ะ คือ กระดูกข้อที่ 5 ข้างขวา ข้อเคลื่อนออก แต่เคยเอกซเรย์แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    อานุภาพแห่งการเจริญสติช่วยสงเคราะห์ผู้ป่วย (ตอนจบ)ใน 4 ครั้งก่อนได้ยกตัวอย่างของผู้ป่วย 4 รายที่ได้ใช้การเจริญสติช่วยเหลือ ในครั้งนี้จะกล่าวถึงการบริการปรึกษาการใช้ธรรมปฏิบัติผสมผสานกับเทคนิคการให้บริการปรึกษา : ช่วยผู้มาขอรับความช่วยเหลือผู้ป่วยรายสุดท้ายที่ดิฉันจะกล่าวถึงนั้น เป็นชายอายุ 20 ปี เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง หน้าตาดี ร่างกายแข็งแรง แต่มีปัญหาทางใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    นกกระสาขาเดียว“วันนี้พี่เอื้อจะเล่านิทานให้ฟังเอามั้ยคะ”“เอาครับ แตมชอบฟังนิทาน”“เอาเรื่องกระต่ายกับเต่านะ” น้องภีมร์บอก“ลองเรื่องนกกระสากับหมาจิ้งจอกบ้าง ตกลงมั้ยคะ”“ตกลงครับ”พี่เอื้อยกรูปให้เด็กดูแล้วถามว่า “นี่อะไรคะ”“นก นกกินปลาค่ะ” น้องเตยตอบ“นกขายาว” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    การบริหารข้อนิ้วมือและมือเพลงหนึ่งที่กำลังนิยมในขณะนี้ คือ เพลง “ปูดำ” ทำให้คิดถึงเพลงเด็กอีกเพลงหนึ่ง ซึ่งมีทำนองว่า “จับปูดำขยำปูนา จับปูม้าคว้าปูทะเล” การที่เอามือมาเปรียบเทียบว่าเป็นปูคงเนื่องจากลักษณะของนิ้วมือทั้งสองคล้ายกับขาปูนั่นเอง โดยมีนิ้วหัวแม่มือเป็นก้ามปู และนิ้วอื่นๆ เป็นขาปู เด็กมักชอบเพลงนี้ เพราะนอกจากจะร้องสนุกแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    พิษภัยจากยาฆ่าแมลงกับการใช้สะเดาเมื่อวันเสาร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ เวทีทิศทางไทยของสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนาได้พาไปดูงานการเกษตรที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยความเอื้อเฟื้อของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) โดยไปดูโครงการชุมชนเกษตรกรรมของ ธ.ก.ส. ที่อำเภอสามชุก และโครงการใช้สมุนไพรเพื่อการขจัดแมลงของคุณเดชา ศิริภัทร แห่งศูนย์เทคโนโลยีเพื่อสังคม ที่อำเภอบางปลาม้าในการพัฒนาเพื่อความทันสมัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    หัดกับวัคซีนป้องกันโรคในช่วงเดือนสองเดือนที่ผ่านมา พบว่ามีการระบาดของโรคหัดและอีสุกอีใสในหมู่เด็กๆ รวมทั้งผู้ใหญ่บางคนก็พลอยฟ้าพลอยฝนไปด้วย เป็นที่น่าสังเกตว่า ไข้ออกผื่นเหล่านี้มักจะระบาดในช่วงต่อระหว่างหน้าหนาวกับหน้าร้อน (ธันวาคมถึงมีนาคม) เชื่อว่าเป็นเพราะสภาพอากาศเหมาะกับการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสที่เป็นตัวก่อโรคโรคนี้เป็นที่รู้จักมาแต่ดึกดำบรรพ์ จนมีชื่อเรียกแบบไทยๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    ปฏิชีวนะสารของมด ช่วยรักษาโรคติดเชื้อราในคนพบว่า สารที่มดขับออกมามีฤทธิ์เป็นปฏิชีวนะสารเรียกว่า เมตาพูลริน (metapleurin) ซึ่งมดใช้ในการป้องกันการติดเชื้อราและแบคทีเรีย สารนี้มีคุณสมบัติเป็นไขมัน ซึ่งแตกต่างจากยาปฏิชีวนะอื่นๆ อย่างสิ้นเชิงนักชีววิทยาชาวออสเตรเลียได้ค้นพบว่า มดผลิตปฏิชีวนะสารเพื่อการควบคุมโรคในบริเวณที่อยู่อาศัย จากการทดลองของโรงพยาบาลแห่งนครซิดนีย์ได้พบว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    การใช้ชีวิตอย่างมีสุขและยืนยาวโลกของเราช่างเป็นสถานที่ซึ่งสวยสดงดงาม ทุกยามเมื่ออาทิตย์ขึ้นและตกลง แสง สี และลวดลายอันเกิดจากแสงอาทิตย์ทาทาบแผ่นฟ้า ช่างเป็นภาพที่น่าประทับใจและชวนให้เคลิ้มฝันเสียจริงๆ ทุกหนแห่งที่เราเหลียวมองออกไป มักจะมีสิ่งอันน่าประหลาดใจเฝ้าคอยเราอยู่ เพราะธรรมชาติที่เต็มไปด้วยความหลากหลายอันนับไม่ถ้วน ได้สร้างสรรค์ความแปลกใหม่ให้ปรากฏแก่สัมผัสของเราอยู่มิรู้คลายนี่คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    โรคเบาจืดพูดถึง “โรคเบาจืด” หลายคนคงไม่ค่อยคุ้นกับชื่อนี้ มักจะได้ยิน “โรคเบาหวาน” เสียมากกว่า ก็เพราะโรคนี้พบได้ไม่มากนัก ก่อนอื่นขอกล่าวถึงอาการของโรคนี้กันก่อน อย่างที่ทราบแล้วว่า ผู้ป่วยด้วยโรคนี้จะมีอาการปัสสาวะบ่อย และปัสสาวะครั้งละมากๆ เมื่อร่างกายเสียน้ำไปมาก ผลที่ตามมาก็คือ คนไข้จะกระหายน้ำบ่อย และถ้าดื่มน้ำทดแทนส่วนที่เสียไปไม่ทัน ร่างกายเกิดขาดน้ำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 131 มีนาคม 2533
    นมแม่...หายไปไหนมาร่วมกันรณรงค์เอานมแม่กลับคืนมาให้เด็กๆ กันเถอะเมื่อวันที่ 29-30 มกราคม ที่ผ่านมา แพทย์ พยาบาล และผู้ที่อยู่ในแวดวงของการดูแลรักษาสุขภาพเกือบ 200 คน ได้มาชุมนุมกันที่ห้องประชุมชั้น 5 องค์การเภสัชกรรม ในการสัมมนาเรื่อง “นมแม่...หายไปไหน” ซึ่งจัดโดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน กองโภชนาการ กรมอนามัย และคณะกรรมการประสานงานองค์กรเอกชนเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน (คปอส.) ...