บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    ผลไม้รวมมิตรลอยแก้วไทยเป็นประเทศที่มีผลไม้อุดมสมบูรณ์ และมีทุกฤดูกาล จนเลือกกินกันไม่หวาดไม่ไหว บางครั้งผลไม้ชนิดหนึ่งออกมายังไม่ทันวาย ผลไม้อีกชนิดก็ออกมาอีกแล้ว ติดๆกันจนกินไม่ทันก็มี แต่ถึงกินไม่ทัน เราก็มีวิธีถนอมอาหารไว้กินนานๆหลายวิธี เช่น ดอง แช่อิ่ม อบ ตากแห้ง กวน หรือบรรจุไว้ในกระป๋อง ซึ่งวิธีบรรจุในกระป๋องนี้ผ่านกระบวนการหลายอย่าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    สะระแหน ผักต่างแดนที่โอนสัญชาติและเปลี่ยนชื่อเป็นไทยในบรรดาผักชนิดต่างๆ ที่ชาวไทยรู้จักและคุ้นเคยอยู่ในปัจจุบันนี้นั้น มีอยู่หลายชนิดที่คนไทยส่วนใหญ่คิดว่าเป็นผักพื้นบ้านดั้งเดิมและมีกำเนิดอยู่ในประเทศไทยแต่ความจริงเป็นผักที่นำเข้ามาจากต่างประเทศนานมาแล้วบ้าง หรือเพิ่งนำเข้ามาไม่นานนักบ้าง แต่การนำเข้ามานั้นกระทำอย่างไม่เป็นทางการหรือไม่มีบันทึกเป็นหลักฐานเอาไว้อย่างชัดเจน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    คนไทยป่วยและตายโดยไม่จำเป็นปีละแสนๆคนถึงแม้พระจะสอนว่า “คนเราเกิดมามีความเจ็บเป็นธรรมดาจะล่วงความเจ็บไปไม่ได้” และ “คนเราเกิดมามีความตายเป็นธรรมดาจะล่วงความตายไปไม่ได้”ก็จริง แต่มีความป่วยและความตายที่ป้องกันได้กับที่ป้องกันไม่ได้ อย่างเมื่อก่อนคนไทยเป็นอหิวาต์ตายทีหนึ่งเป็นหมื่นๆคน เป็นฝีดาษ เป็นกาฬโรค เป็นโรคคอตีบ เป็นคุตทะราด เป็นโรคโปลิโอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    อาหารปลอดสารพิษ“กลุ่มกรีนเนท” แนะนำผลิตภัณฑ์ กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบเป็นพืชพื้นบ้าน สามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศ กระเจี๊ยบเป็นสมุนไพรพื้นบ้าน ที่ชาวบ้านนิยมนำมาทำเป็นอาหารและยา โดยทั่วไป เรานำกลีบรองดอกกระเจี๊ยบซึ่งมีสีแดงเข้ม มาต้มกับน้ำ ดื่มแก้ร้อนใน กระหายน้ำ ขับเสมหะ และยังช่วยป้องกันการจับตัวของไขมันในเส้นเลือดได้อีกด้วย นอกจากนำมาต้มน้ำดื่มแล้ว กลีบรองดอกนี้ยังนำไปใช้ทำขนม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    อาหารมื้อเช้า ลดความเครียดชีวิตคนในเมืองมักจะไม่ได้กินอาหารเช้า เพราะความเร่งรีบ คุณเคยสังเกตตัวเองไหมว่า การไม่ได้กินอาหารเช้า ในวันนั้นคุณรู้สึกว่าตัวเองจะหงุดหงิดเป็นพิเศษและอารมณ์จะอ่อนไหวง่ายนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน พบว่า คนที่กินอาหารเช้าน้อยเท่าไรยิ่งเกิดความเครียดได้มากเท่านั้น และอารมณ์จะอ่อนไหวง่าย หงุดหงิดง่าย ในทำนองเดียวกันหากคุณกินอาหารมื้อกลางวันที่ให้พลังงานน้อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับโคลนนิงก์“โคลนิงก์” คืออะไร“โคลนิงก์ (cloning)” เป็นศัพท์วิทยาศาสตร์ (อ่านว่า โคลน-นิ่ง) หมายถึง การทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตที่มีองค์ประกอบทางพันธุกรรมเหมือนกันจะเรียกว่า “การคัดลอก” หรือ “การถอดแบบ” พันธุกรรม ก็ได้โคลนิงก์ที่เกิดตามธรรมชาติมีหรือไม่แฝดไข่ใบเดียวกันเป็นตัวอย่างหนึ่งของโคลนิงก์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    เรื่อง “ไอ” (ตอนที่ 3)คนไข้รายที่ 5 หญิงไทยอายุ 65 ปี มาที่โรงพยาบาลพร้อมกับลูก ๆ ที่มีอาการวิตกกังวลอย่างมากหญิง : “สวัสดีค่ะ ดิฉันไอเป็นเลือดออกมาสด ๆ เป็นจำนวนมาก น่ากลัวจังเลยค่ะ เป็นอะไรมากมั้ยคะ”หมอ : “สวัสดีครับ เลือดออกมาประมาณเท่าไรครับ 1 ถ้วยยา (ประมาณ 50-60 ซีซี) 1 แก้วน้ำ (ประมาณ 250 ซีซี) หรือประมาณเท่าไรครับหญิง : “ไม่แน่ใจค่ะ มันออกมาทั้งหมด 3 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    การบริหารนิ้วให้แข็งแรงนิ้วเป็นอีกอวัยวะหนึ่งที่สำคัญ และจำเป็นต้องใช้ทุกวัน เพราะต้องใช้ในการหยิบจับสิ่งของ ถ้าสังเกตดูจะพบว่านิ้วจะมีข้อต่อมากกว่าอวัยวะอื่นเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้มากนั่นเองเมื่อพูดถึงการบริหารเรามักจะมองข้ามการบริหารนิ้วไป เพราะอาจจะคิดว่านิ้วไม่ได้ใช้ทำงานหนักเท่าไร จึงไม่ต้องบริหารถึงแม้นิ้วจะไม่ต้องรองรับน้ำหนักตัวเหมือนขา ไม่ได้ใช้ยกของเหมือนแขน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    ตาแดง ตาแฉะมีอาการตาแดง หรือมีขี้ตา
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    แพทย์แผนจีนในชีวิตประจำวัน (ตอนที่ ๑) มนุษย์กับธรรมชาติเป็นหนึ่งเดียวจุดเด่นและหลักการสำคัญของแพทย์แผนจีนข้อหนึ่งได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ (สิ่งแวดล้อมรอบตัว) หรือที่เรียกว่า ความสัมพันธ์ฟ้า-ดิน-และมนุษย์ หลักการนี้ถือว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของโลกธรรมชาติมนุษย์ต้องพึ่งพาธรรมชาติไม่โดยทางตรงก็ทางอ้อม การเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงใดๆ ...