วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 มีนาคม 2547
    มาเล่นกล้ามกันเถอะ : (นักสร้างกล้ามเนื้อ)หลายคนเขาบอกว่าเล่นกล้าม จะนึกถึงอาร์โนลด์ ชวาร์ซเนกเกอร์ (Arnold Schwar zenegger) เท่านั้น ดาราฮอลลีวู้ด ที่ผันตัวเองมาเล่นการเมืองเป็นผู้ว่าการรัฐผมอยากจะบอกว่า นักกล้ามไม่จำเป็นต้องเหมือนอาร์โนลด์ ชวาร์ซเนกเกอร์ เท่านั้น ชายหนุ่มรูปงาม นายทหารที่สมาร์ต ผู้หญิงสวยเปรียว นักธุรกิจที่น่าเชื่อถือ นักการเมืองที่เก่ง ผู้นำประเทศที่มีฝีมือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 299 มีนาคม 2547
    ปวดไหล่ข้างเดียวถาม : วิโรจน์/ชลบุรีผมมีเรื่องขอเรียนถามคุณหมอ ดังนี้ครับ ผมอายุ ๓๐ ปี สุขภาพทั่วไป แข็งแรงดีครับ แต่ตอนนี้มีอาการปวดยอกบริเวณไหล่ขวา เป็นมาประมาณ ๑ สัปดาห์ เพราะต้องนั่งทำงานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ตลอด และโต๊ะที่ใช้ก็ไม่ใช่โต๊ะคอมพิวเตอร์ (บริษัทฯ กำลังจะซื้อให้ครับ) อยากทราบว่ามีวิธีการแก้ปวดไหล่ข้างเดียวไหมครับ กรุณาตอบด้วยนะครับตอบ : อาจารย์มนูญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    โยคะ วิชาการและการประชุมเวลาที่พวกเราวิเคราะห์ วิจารณ์เมืองไทย เรามักจะเห็นพ้องกันว่าประเทศไทยนี้โชคดี เราอยู่ในภูมิประเทศที่อุดม ปราศจากภัยธรรมชาติ ซึ่งคงมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม ทำให้สังคมไทยเป็นสังคมสบายๆ แต่คำถามก็คือ เราจะโชคดีอย่างนี้ไปได้ตลอดหรือ? โลกวิวัฒน์ไปเร็วเหลือเกิน โดยเฉพาะถ้าในยุคนี้ ก็คือ การก้าวกระโดดของเทคโนโลยีการสื่อสาร ผลของการพัฒนาทางด้านนี้ก็คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    ปวดหลังถาม : นุศิลป์/ปัตตานีผมอายุ ๓๖ ปี ต้องนั่งทำงานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งวัน จะมีอาการปวดหลังมาก จนร้าวมาถึงช่วงเอว บางครั้งลงขา บางครั้งปวดมาก จนต้องกินยาแก้ปวดก็พอจะคลายอาการลงได้บ้าง แต่ก็ยังมีอาการปวดช่วงบ่าอยู่ อยากทราบว่าถ้าเป็นบ่อยๆ จะอันตรายไหมครับ และควรดูแลรักษาอย่างไรครับตอบ : อาจารย์มนูญ บัญชรเทวกุลอายุคุณยังไม่มาก อาการเหล่านี้ น่าจะมาจากการผิดท่าทาง (Posture) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 297 มกราคม 2547
    ปราณยามะ (9) ตอนสุดท้ายของปราณยามะในบทสรุปนี้ ขอย้ำว่าแก่นของปราณยามะ คือ "ช่องว่างระหว่างลมหายใจเข้าและลมหายใจออก หรือก็คือ การหยุดลมหายใจ" ถ้าจะฟันธงลงไป เราก็กล่าวได้ว่า การฝึกควบคุมลมหายใจต่างๆ ของโยคะ ท้ายที่สุดก็เพื่อสร้างสภาวะของการไม่หายใจเป็นเวลานานๆ นั่นเอง เพราะโยคะถือว่า การที่ร่างกายนั่งได้สงบลมหายใจหยุด จิตก็จะสงบนิ่งลงเป็นสมาธิ อันเป็นเป้าหมายของโยคะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    ปราณยามะ (8)เมื่ออ่าน เมื่อฝึกมาถึงฉบับนี้ เราคงเห็นความแตกต่างระหว่างเทคนิคโยคะ ๒ ชนิด อาสนะกับปราณยามะ การฝึกอาสนะนั้น เป็นรูปธรรมค่อนข้างชัดเจน ให้ประโยชน์กับผู้ฝึกในระดับหนึ่ง ส่วนการฝึกปราณยามะเป็นนามธรรม เรียนรู้ และฝึกได้ยากกว่า ปราณยามะมีประโยชน์มาก โดยเฉพาะการพาผู้ฝึกไปสู่สมาธิ อันเป็นเป้าหมายแห่งโยคะ เมื่อเข้าใจดังนี้ ผู้ฝึกก็จะมีความพิถีพิถันในการฝึกเทคนิคโยคะทั้ง ๒ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    ปราณยามะ (4) ในโลกนี้ ไม่มีใครหายใจผิดช่วงหลังนี้ ผมเริ่มสอนเรื่องลมหายใจ คำถามที่เจอทุกครั้งก็คือ "ดิฉัน/ผมหายใจผิด ทำอย่างไรดี" ก่อนที่บทความเรื่องปราณยามะนี้จะว่ายาวต่อไป ฉบับนี้ขออนุญาตทำความเข้าใจประเด็น "การหายใจผิด" เสียก่อน ในโยคะเบื้องต้นเวลาสอนการหายใจ ครูมักแนะนำให้นักเรียนรู้จักลมหายใจโดยอัตโนมัติของตนเอง การหายใจโดยอัตโนมัตินี้ ถ้าพูดตามทฤษฎี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 292 สิงหาคม 2546
    คนบ้าวิ่ง (๖)การออกกำลังกายที่ถูกวิธีจะทำให้ร่างกายแข็งแรง การวิ่งเพื่อสุขภาพแตกต่างไปจากการวิ่งเพื่อแข่งขัน การวิ่งเพื่อสุขภาพจะเน้นไปที่การทำให้ร่างกายแข็งแรง และไม่บาดเจ็บ...การวิ่งเพื่อสุขภาพจะเริ่มต้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป ยิ่งถ้าเป็นคนที่ไม่เคยวิ่งออกกำลังมาก่อน หรือไม่เคยวิ่งมานานแล้ว เช่น ผู้สูงอายุ และคนที่มีน้ำหนักตัวมากๆ นั้น ต้องเริ่มด้วยการเดินก่อน อาจเดินเรื่อยๆ เป็นเวลา ๑๕-๒๐ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 291 กรกฎาคม 2546
    คนบ้าวิ่ง (๕)ย้อนหลังไปเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว ผมเริ่มวิ่งออกกำลังกายเป็นกิจจะลักษณะเป็นครั้งแรก จำได้ไม่ลืมเป็นการวิ่งในซอยบ้านของผมเอง หรือสวนสาธารณะใกล้บ้าน ตอนเช้ามืดที่จำต้องลุกจากที่นอนที่แสนจะอุ่นสบายและที่กำลังงัวเงียติดพัน ซอยก็ไม่ไกลไปกว่าครึ่งกิโล แต่รู้สึกมันไกลเหลือเกินและก็เหนื่อยมากด้วย ที่สำคัญหมาทั้งซอย บ้านโน้น บ้านนี้ ทั้งในบ้านและหมาไร้สังกัดส่งเสียงกันให้ขรมทั้งละแวก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 291 กรกฎาคม 2546
    ปราณยามะ (3) การควบคุมหายใจการหายใจด้วยทรวงอก คือ รูปแบบของการควบคุมลมหายใจ โดยมุ่งเน้นไปที่กล้ามเนื้อซี่โครง มุ่งเน้นไปที่การหายใจเข้าวิธีฝึก1.จัดเวลาสำหรับฝึกเป็นการเฉพาะ เช่น ช่วงเช้า หลังจากฝึกเทคนิคอาสนะ ช่วงบ่ายหลังอาหาร หรือช่วงเวลาก่อนนอน เป็นต้น2.นั่งในท่าอาสนะเพื่อสมาธิ ท่าไหนก็ได้ที่เราถนัด นั่งให้นิ่ง นั่งให้สงบ เฝ้าดูลมหายใจของเราไป ...