ยาและวิธีใช้

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 6)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 5 : หญิงวัยรุ่นอายุประมาณ 20 ปี แต่งเครื่องแบบนักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีชื่อแห่งหนึ่ง เดินเข้ามาหาหมอด้วยใบหน้าแสดงความกังวลหญิง : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 199 พฤศจิกายน 2538
    วูบ (ตอนที่ 5)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้ประโยชน์ในวงกว้างต่อไป คนไข้รายนี้ไปโรงพยาบาลด้วยอาการ “วูบ” และหมอที่โรงพยาบาลบอกว่าเป็นสมองขาดเลือด และจะให้นอนโรงพยาบาลไม่ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 199 พฤศจิกายน 2538
    ธาลัสซีเมียข้อน่ารู้1. ไขกระดูก ซึ่งอยู่ภายในโพรงกระดูกทุกส่วนของร่างกาย มีหน้าที่ในการผลิตเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือด แล้วป้อนเข้ากระแสเลือดไหลเวียนไปทั่วร่างกายเม็ดเลือดแดง ทำหน้าที่นำก๊าซออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยงร่างกายให้เกิดการเผาผลาญอาหารจนเกิดพลังงานให้ดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุข และขนถ่ายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาผลาญดังกล่าว ไปซับออกที่ปอดเม็ดเลือดขาว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ฮ่องกงฟุตข้อน่ารู้1.ฮ่องกงฟุต หมายถึง อาการแผลเปื่อยที่ง่ามนิ้วเท้า คนทั่วไปเข้าใจว่าเกิดจากการย่ำน้ำ (เน่า) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าฝนที่มีน้ำท่วมขัง บางครั้งก็เรียกกันว่า “น้ำกัดเท้า”ชื่อนี้มีความเป็นมาอย่างไร ก็คงจะคาดเดาได้ แต่ก็มีการพูดกันต่อ ๆ กันมาในหมู่คนไทยจนเป็นที่เข้าใจกันดังความหมายข้างต้น2. แผลเปื่อยที่ง่ามเท้า มีสาเหตุที่พบได้บ่อย 2 โรค ได้แก่ (ก) โรคเชื้อรา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ยาแก้ฝ้า ระวังเพิ่มฝ้าในยุคนี้มีการตื่นตัวกันมาก ในเรื่องการรักษาฝ้า และมีตัวยาที่ปลอดภัยให้เลือกใช้มากมายหลายยี่ห้อ ผิดกับสมัยก่อนที่การรักษาฝ้าผูกขาดอยู่กับครีมไข่มุก ซึ่งเป็นครีมทาแก้ฝ้าในสมัยก่อนสั่งเข้ามาจากไต้หวัน มีส่วนผสมของสารปรอท และส่วนผสมบางอย่างของครีมที่ทำให้เกิดความแวววาว จึงเรียกว่าครีมไข่มุกครีมไข่มุกที่มีส่วนผสมของสารปรอท ซึ่งวงการแพทย์พบว่าทำให้เกิดอันตราย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    ความดันเลือดสูงข้อน่ารู้1.หัวใจของคนเราทำหน้าที่สูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดทั่วร่างกาย ทำให้เกิดแรงดันขึ้นภายในหลอดเลือดแดง ซึ่งสามารถใช้เครื่องวัดความดัน ทำการตรวจวัดไม่ได้ โดยนิยมวัดที่บริเวณต้นแขน และมีหน่วยของค่าความดันเป็น “มิลลิเมตรปรอท”ความดันเลือดมีค่าที่วัดได้ 2 ค่า ได้แก่ ความดันช่วงบน(หรือความดันซิสโตลี) ซึ่งเป็นค่าความดันเลือดที่วัดได้ขณะหัวใจบีบตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    ความเป็นพิษของวิตามินเกินขนาดปัจจุบันคนไทยหันมาสนใจ เรื่องสุขภาพกันมากกว่าในอดีต เรื่องของการกินอยู่อย่างไรเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่เจ็บป่วย เพราะสิ่งแวดล้อมรอบด้านล้วนแต่เป็นพิษภัยทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นอากาศ น้ำ ดิน แม้กระทั่งคนซึ่งทำทุกอย่างเพื่อเพิ่มผลประโยชน์ให้ตน ทั้งที่ทำโดยความไม่รู้และผู้ที่นำความรู้มาหันเหบิดเบือนจากความเป็นจริง เพื่อให้คนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์หลงเชื่อ ดังนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    บาดทะยักข้อน่ารู้1.บาดทะยัก เป็นโรคติดเชื้อร้ายแรงชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรียพันธุ์หนึ่ง ในทีนี้ขอเรียกว่า “เชื้อบาดทะยัก” เชื้อนี้มีลักษณะพิเศษ คือ พบอยู่ตามดินทรายและมูลสัตว์ มีความคงทน สามารถมีชีวิตอยู่ตามดินทรายได้นานเป็นปี ๆ และแพร่พันธุ์ได้ดีในที่ ๆ ไม่มีออกซิเจน ดังนั้นโรคนี้จะเกิดกับผู้ที่มีบาดแผลแปดเปื้อนเชื้อบาดทะยัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบาดแผลที่มีปากแผลแคบ แต่ลึก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 9)เรื่องราวต่าง ๆทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปภาคสรุปคำว่า “เจ็บหัวใจ” ในที่นี้ หมายถึง อาการที่เกิดขึ้นจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial ischemia) หรือเรียกสั้น ๆว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    20 ถาม – ตอบ เรื่อง...กาฬโรค1. ทำไมจึงชื่อกาฬโรค บางคนเรียกไข้ดำ หรือมฤตยูทมิฬ บ้างว่ามฤตยูดำชื่อกาฬโรค เป็นศัพท์ที่เมืองไทยใช้เฉพาะมานาน มาจากคำภาษาอังกฤษที่ว่าพล๊าก(plague) จากรายงานการบันทึก โรคนี้เริ่มระบาดครั้งแรกในคริสศตวรรษที่6 (ประมาณ พ.ศ. 1085) ที่ประเทศอียิปต์ ทวีปแอฟริกา หรือกาฬทวีป (แห่งลุ่มน้ำไนล์) จะได้ชื่อโรคตามทวีปหรือไม่ ...