ยาและวิธีใช้

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 118 กุมภาพันธ์ 2532
    ยาอันตรายในท้องตลาดมีมากมายก่ายกอง ไม่เข้าใจว่าทำไมกระทรวงสาธารณสุขไม่ดำเนินการอะไรเลย ผมเคยทำงานในต่างจังหวัด เห็นยาแก้ปวดที่เป็นซองจำนวนมากมาย วางขายตามร้านชำทั่วไป ที่เห็นบ่อย ๆ คือ ยาทัมใจ ยาบวดหาย เอ.เอน.ที ปวดบูรา และอื่น ๆ ผมเคยได้ยินเภสัชกรที่ร้านยาบอกคนซื้อว่า ยาซองแก้ปวดไม่ควรกินบ่อย ๆ กินแล้วจะติด แล้วทำไมปล่อยให้มีล่ะครับ ไม่มีใครคุ้มครองกันเลยหรือ ผมเคยเห็นชาวบ้านติดซองยานาน ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 ธันวาคม 2531
    “ยาเหน็บทวารหนัก” ส่วนใหญ่เป็นตัวยาจำพวกครีมหรือขี้ผึ้ง ทำเป็นแท่ง บรรจุในวัสดุบางอย่าง เช่น กระดาษแก้ว หรือพลาสติก เวลาใช้ต้องแกะวัสดุ เหล่านี้ออกก่อนยาเหน็บทวารหนักเมื่อแกะแล้วจะลื่น และละลาย ดังนั้น ถ้าเหน็บไม่ดียาอาจเลื่อนหลุดออกมา ทำให้ได้รับตัวยาไม่ครบถ้วน และเปรอะเปื้อนยาเหน็บทวารหนัก สำหรับผู้ที่เป็น “ริดสีดวงทวารหนัก” จะช่วยลดการอักเสบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    “ยาเหน็บช่องคลอด” เป็นตัวยาที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่เพื่อรักษาโรค และอาการบางอย่างในสตรีรูปลักษณะของยามีหลายแบบ วิธีการใช้อาจมีความแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเม็ด ลักษณะมน กลม เวลาเหน็บ จะซุบน้ำก่อน เพื่อมิให้เกิดการระคายเคือง “ยาเหน็บช่องคลอด” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2531
    “เด็กไทย คือ หัวใจของชาติ” “ลูก คือ หัวใจของพ่อแม่”คำพูดเหล่านี้คงจะเป็นที่คุ้นหู และซาบซึ้งอยู่ในใจแต่ละคนเป็นอย่างดี ทุกคนจึงอยากจะมอบสิ่งดี ๆ ให้กับเด็ก ไม่ว่าผู้ที่เป็นพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายหรือสังคมโดยรวม เด็กไทยนั้นมีอยู่ถึง 18 ล้านคน หรือ คิดเป็นร้อยละ 38 ของประชากรทั้งประเทศ หากมองภาพรวม ๆ โดยทั่วไป เราอาจพบว่าสุขภาพของเด็กไทยดีขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 115 พฤศจิกายน 2531
    การอักเสบของผิวหนังอาจเกิดจากภาวะภูมิแพ้, การสัมผัสกับสารเคมีที่ระคายเคือง, ถูกแดดจ้า, แมลงสัตว์กัดต่อย และอื่น ๆ อีกมากมาย ยาทาผิวหนังประเภทสตีรอยด์ เป็นยาที่ถูกนำมาใช้ลดการอักเสบของผิวหนังจากเหตุต่าง ๆ แต่ไม่ใช่เพื่อการรักษาในทุกกรณี มักใช้ยาทาสตีรอยด์ในโรคผิวหนังที่มีการอักเสบน้อย ผลการใช้ยาทาสตีรอยด์ นั้นจะทำให้อาการอักเสบของผิวหนัง อันได้แก่ อาการบวม, แดง, คัน, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    “ยาป้ายตา” เป็นยารักษาโรคทางตาชนิดขี้ผึ้ง ยางป้ายตาชนิดขี้ผึ้ง นอกจากมีตัวยารักษาโรคทางตาแล้ว ยังใช้เพื่อป้องกันการระคายเคืองได้อีก เช่น การมีเศษวัสดุกระเด็นเข้าตา ขณะไปพบแพทย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ด้วยโดยหวังว่าความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในชุมชน เป็นการเสริมทรัพยากรระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อควบคุมและป้องกันโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    โรคกระเพาะอาหาร ในที่นี้ หมายถึง โรคที่มีแผลในกระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้น (ดูโอดีนั่ม)โรคนี้พบบ่อยในคนที่มีลักษณะต่อไปนี้1. เครียดมาก หงุดหงิดง่าย ใจน้อย หรือเครียดเพราะได้รับอุบัติเหตุที่สมอง, มีโรคติดเชื้อรุนแรง, ได้รับการผ่าตัดใหญ่ หรือถูกไฟลวกเป็นบริเวณกว้าง2. ใช้ยาจำพวกสเตียรอยด์, ยาลดการอักเสบ เช่น แอสไพริน, อินโดเมทาซีน, ไอบูโพรเฟน ฯลฯ ติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือกินทีละมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    ไข้ในเด็ก เป็นเรื่องที่หลายต่อหลายครั้ง เป็นที่ร้อนอกร้อนใจของพ่อแม่หรือคนใกล้ชิดเสียยิ่งกว่าตัวหนูน้อยเองเสียอีก ยิ่งเด็กอายุน้อย พ่อแม่ยิ่งร้อนใจมาก เพราะเกรงจะเป็นโรคร้ายแรง เอาล่ะครับ ลองมาทำความเข้าใจกันอีกสักครั้งว่า ไข้นั้นเป็นอย่างไรเมื่อไร ที่นับว่าสำคัญ และจะบรรเทาไข้ได้อย่างไร1. ความหมายและกลไกการเกิดไข้ไข้ = ตัวร้อน = การที่อุณหภูมิร่างกายสูงผิดปกติ ที่ว่าสูงผิดปกตินี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    แพทย์หญิงบุญล้วน พันธุมจินดา รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวว่า โรคไข้สมองอักเสบที่เกิดจากไวรัส เจอี ในประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมักระบาดในฤดูฝน จากการเก็บสถิติเมื่อปี 2530 มีผู้ป่วยด้วยโรคนี้ 1,596 คน และมีอัตราตายถึงร้อยละ 20 – 30 ส่วนสถิติตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงปัจจุบันมีผู้ป่วย 342 คนโรคไข้สมองอักเสบนี้ ...