อาหาร 5 หมู่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 398 มิถุนายน 2555
    เป็นที่ทราบกันดีว่า นมเป็นแหล่งของสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายหลายชนิด เช่น แคลเซียม วิตามินบี ๒ วิตามินดี อีกทั้งเป็นแหล่งของโปรตีนคุณภาพดี จึงทำให้นมนั้นเป็นอาหารที่ถูกคัดเลือกให้บรรจุอยู่โภชนบัญญัติและธงโภชนาการกระทรวงสาธารณสุขแนะนำคนไทยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย โดยเด็กที่กำลังเจริญเติบโตและวัยรุ่น ปริมาณที่พอเหมาะคือ ดื่มวันละ ๒-๓ แก้ว ส่วนผู้ใหญ่ดื่มวันละ ๑-๒ แก้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    แกงส้มเป็นอาหารที่นิยมกินกันทุกภาค แต่ละภาคจะมีส่วนผสมและรสชาติที่แตกต่างกันตามความชอบ เช่น ภาคใต้จะมีรสเผ็ดร้อนนำและเปรี้ยวตาม ส่วนภาคกลางรสชาติของแกงส้มจะมีรสเผ็ดเล็กน้อย นอกจากเผ็ดแล้วยังมีรสเปรี้ยว เค็ม และหวาน ส่วนของรสเปรี้ยวได้มาจากน้ำมะขามเปียก รสหวานจากน้ำตาลปี๊บ รสเค็มจะใช้เกลือหรือน้ำปลาก็ได้ในอดีตเนื้อสัตว์นิยมใช้ปลาเพียงอย่างเดียว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 380 ธันวาคม 2553
    อาหารจานเดียว เป็นอาหารที่ประกอบขึ้นใน ๑ จานมีปริมาณและคุณค่าอาหารเพียงพอแก่ความต้องการของร่างกายใน ๑ มื้อ ต้องประกอบด้วยอาหารหลัก ๕ หมู่ ให้เหมาะสมกับ เพศ วัย ความหนักเบาของกิจกรรม และสภาวะร่างกายของคนที่กิน มีวิธีการเตรียมและปรุงแต่งอาหารอย่างสงวนคุณค่า สะอาด ถูกหลักอนามัย มีสี กลิ่น รสที่ดี เครื่องปรุงได้จากอาหารต่างๆ ที่หาได้ง่ายและมีในท้องถิ่น วิธีการไม่ยุ่งยาก ต้องประหยัดเวลา แรงงาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    แซนด์วิช เป็นอาหารที่นิยมสำหรับผู้บริโภคทุกเพศทุกวัย สามารถนำมากินเป็นอาหารเช้าหรืออาหารว่างได้ เตรียมและประกอบเองง่าย ส่วนประกอบแต่ละชนิดที่มีอยู่ในตำรับล้วนแล้วแต่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 376 สิงหาคม 2553
    ขนมกล้วยเป็นขนมไทยโบราณทำง่าย และไม่ต้องใช้อุปกรณ์มาก หากเราเห็นคุณค่าในตัวขนมก็สามารถนำขนมนั้นๆ มาเพิ่มมูลค่าและเพิ่มประโยชน์ได้ ทั้งนี้ก็ต้องดูความเหมาะสมและความเป็นไปได้รวมถึงการยอมรับของผู้บริโภคด้วย เมื่อฉบับที่ ๓๗๑ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ได้พูดถึงเมนูซาลาเปาเสริมแคลเซียมไส้ผัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 375 กรกฎาคม 2553
    ปกติคนเราควรกินอาหารวันละ ๓ มื้อ หลักสำหรับผู้ใหญ่ คือ มื้อเช้า กลางวัน และเย็นสำหรับเด็กๆ โดยเฉพาะเด็กเล็ก อาจเพิ่มอาหารว่างช่วงสายๆ และมื้อบ่ายอีก ๒ มื้อก็ได้ เพราะเด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตแต่ความจุกระเพาะจะน้อย ดังนั้น จึงต้องกินเพิ่มเติมระหว่างมื้อเพื่อให้ได้รับพลังงานและสารอาหารให้เพียงพอคุณแม่บางท่านอาจมีคำถามว่าอาหารแต่ละมื้อควรมีปริมาณเท่ากันหรือไม่ ตามหลักการแล้วควรจะเท่าๆ กัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 369 มกราคม 2553
    ประวัติของก๋วยเตี๋ยวน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยชาวจีนล่องเรือมาขายสินค้ากับคนไทย นอกจากขายสินค้าแล้ว ยังนำเส้นก๋วยเตี๋ยวมาด้วยโดยปรุงกินกันในเรือ ต้มน้ำซุป ใส่หมู ใส่ผัก คนไทยเห็นเป็นของแปลกตาในยุคนั้นอย่างที่สุด แต่เมื่อเห็นบ่อยเข้าก็มีการนำเส้นก๋วยเตี๋ยวมาประกอบเป็นอาหารอื่นๆ สร้างความคุ้นเคยระหว่างคนไทยกับก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นนอกจากนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 375 มกราคม 2553
    อาหารเช้าเป็นมื้อที่สำคัญ ซึ่งจำเป็นทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มื้อเช้าเป็นมื้อแรกของวันก่อนที่ร่างกายต้องใช้พลังงานและทำกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละวันอาหารมื้อเช้าจำเป็นต่อสมองและอวัยวะต่างๆคนวัยทำงานหลายคนเข้าใจผิดคิดว่าการงดอาหารเช้าจะช่วยทำให้น้ำหนักตัวลดลง จริงๆ แล้วการกินอาหารเช้าทุกวันจะทำให้ร่างกายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากที่สุดบางคนอาจคิดว่าอาหารเช้าเป็นมื้อที่ยุ่งยาก เสียเวลา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 365 กันยายน 2552
    มะเขือยาวผัดเต้าเจี้ยวหมูสับ เป็นกับข้าวจานหนึ่งที่มีคนนิยมกินมาก เนื่องจากวัตถุดิบหาง่าย วิธีการทำไม่ยุ่งยาก รสชาติอร่อย มะเขือยาวมีชื่อพื้นบ้านว่า มะเขือขาว ปัจจุบันมะเขือยาวมีหลายสี ได้แก่ สีขาว สีม่วง สีม่วงปนขาวมะเขือยาวมีคุณค่าทางโภชนาการหลายอย่าง เช่น คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร โปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก โพแทสเซียม วิตามินเอ วิตามินบี 2 วิตามินซี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 363 กรกฎาคม 2552
    เป็ดย่างกับแกงเผ็ด เป็นอาหารสองสัญชาติ คือ ไทยกับจีน จนกลายเป็นอาหารจานอร่อย เป็นที่ถูกปากนักชิมไม่ว่าจะเป็นคนไทยหรือคนต่างชาติด้วยกลิ่นหอม ของเครื่องเทศและสมุนไพรต่างๆ ในแกงและรสชาติที่กลมกล่อมด้วยรสเค็ม หวาน และรสเปรี้ยวที่ได้จากผลไม้รสเปรี้ยวต่างๆ ที่ใส่ลงไปในแกงเผ็ดเป็ดย่าง ...