โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 6)สัปดาห์ต่อมา ชายร่างท้วมก็กลับมาหาหมอพร้อมกับผลตรวจเลือด คือ น้ำตาล 120 มก% (มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) โคเลสเตอรอล 350 มก% ไตรกลีเซอไรด์ 300 มก% และครีอะตินีน 1.0 มก%ชาย : “สวัสดีครับหมอ ยาหมอนี่วิเศษจริงๆ พอมีอาการปุ๊บ ผมก็อมยาปั๊บ อาการก็หายภายใน1-2 นาที เหมือนโทรทัศน์เปิดปุ๊บติดปั๊บทีเดียวครับ”หมอ : “สวัสดีครับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 5)ผู้ป่วยรายนี้มาหาผมเพราะไม่แน่ใจว่าตนเองเป็นโรคอะไรกันแน่ เนื่องจากไปหาหมอแล้วหมอบอกว่าเป็นโรคกระเพาะ จึงจ่ายยาโรคกระเพาะมาให้ แต่ก็ไม่หาย จึงเปลี่ยนหมอผมได้ซักถามประวัติและตรวจร่างกายแล้ว การตรวจร่างกายไม่พบสิ่งผิดปกติ นอกจากความดันเลือดสูงเล็กน้อย(160/100) มีตุ่มไขมัน(xanthelasma)เล็กๆที่หนังตาซ้าย และผู้ป่วยค่อนข้างอ้วนหมอ : “จากการตรวจร่างกาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 4)ตัวอย่างคนไข้รายที่ 3ชายไทยรูปร่างท้วม อายุ 40 กว่าปี หิ้วถุงเอกซเรย์และกระเป๋าเอกสารเข้ามาพบหมอชาย : “สวัสดีครับคุณหมอ ผมไม่ค่อยสบาย แต่ไม่ทราบว่าเป็นอะไรแน่ รักษามาหลายแห่งแล้ว อาการไม่ดีขึ้น จึงมาหาหมอ”หมอ : “สวัสดีครับ คุณเอาใบส่งตัวจากหมอคนเดิมมาด้วยหรือเปล่า”ชาย : “เปล่าครับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    โรคในช่องปากกับผู้ป่วยโรคเบาหวานในสมัยนี้มีคนจำนวนไม่น้อยที่มีปัญหาเรื่องน้ำตาลในเลือดสูง หรือที่เรียกว่าเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นโรคของระบบต่อมไร้ท่อ ทำให้เกิดความผิดปกติของกระบวนการเผาผลาญสารอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน โดยทั่วไปมักคิดว่าเป็นโรคที่พบในผู้สูงอายุเท่านั้น ที่จริงแล้วพบได้ตั้งแต่ในคนอายุน้อยๆ ไปจนอายุมากๆด้วยโรคนี้แบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ ชนิดที่จำเป็นต้องใช้อินซูลิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 3)ฉบับที่แล้วผมค้างไว้เรื่องตัวอย่างรายการตรวจสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ พร้อมทั้งราคาโดยประมาณ เผื่อบางทีคนที่ชอบเป็นโรคหัวใจเห็นรายการตรวจแล้วอาจจะเลิกอยากเป็นโรคหัวใจก็ได้4. การถ่ายภาพรังสีของกล้ามเนื้อหัวใจหลังให้สารกัมมันตภาพรังสี (radionuclide cardiac imaging) : เช่น การฉีด thallium – 201 แล้วถ่ายภาพรังสีหัวใจเป็นระยะๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 2)ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 2หญิงไทยอายุ 45 ปี หน้าตามีแววกังวลและไม่สบาย เดินอย่างระโหยโรยแรงเข้ามาพบหมอหญิง : “อิชั้นมาขอตรวจโรคหัวใจค่ะ”หมอ : “ทำไมคุณรู้ว่าคุณเป็นโรคหัวใจครับ”หญิง : “อิชั้นไปตรวจมาหลายแห่งแล้วค่ะ ครั้งสุดท้ายที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง หมอบอกว่าเป็นโรคหัวใจค่ะ และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย ”หมอ : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    เจ็บหัวใจ(ตอนที่ 1)ปัจจุบันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (coronary atherosclerosis) ที่ทำให้เกิดอาการเจ็บหัวใจ(angina pectoris) และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) ได้มีการพบบ่อยขึ้นและมากขึ้นในเมืองไทยการพบบ่อยหรือพบมากขึ้นนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากการมีโรคนี้(อุบัติการของโรคนี้)เพิ่มขึ้น เนื่องจากคนไทยเราดำรงชีวิตแบบคนฝรั่งมากขึ้น เช่น กินอาหารไขมันเพิ่มขึ้น อ้วนขึ้น ออกกำลังกายน้อยลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    กินอย่างไรปลอดจากภัยมะเร็งมะเร็ง คือเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่เกิดจากเนื้อเยื่อปกติของร่างกายเจริญเติบโตโดยที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมได้ และก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายความรู้เรื่องการกินที่ถูกต้องจึงเป็นสิ่งสำคัญยิ่งเพื่อหลีกเลี่ยงจากโรคมะเร็ง ข้อเสนอแนะในการกินมีดังนี้1. ลดปริมาณอาหารไขมัน พบว่าปริมาณไขมันที่มีในอาหารมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการเกิดมะเร็งทรวงอก มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งต่อมลูกหมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนจบ)ตามที่ผมได้เกริ่นไว้ในคราวที่แล้วว่า จดหมายที่เขียนมาถามปัญหาสุขภาพให้ผมนั้นเป็นจดหมายที่ตอบยาก เพราะเขียนเล่าข้อมูลมาไม่ละเอียด ตอบแล้วอาจจะผิดพลาดทำให้เป็นอันตรายต่อผู้ถามได้ ซึ่งผมจะขอยกตัวอย่างอีกเล็กน้อยนะครับปัญหาที่ ๓“บางครั้งเวลาอยู่เฉยๆจะรู้สึกเจ็บเหมือนมีวัตถุแหลมทิ่มแทงเนื้อภายในร่างกาย ซึ่งจะทำให้สูดลมหายใจได้ไม่เต็มที่และเจ็บมากด้วย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนที่ 1)ช่วงนี้มีปัญหาสุขภาพเข้ามามาก ปัญหาสุขภาพที่ถามมาทางจดหมายเป็นปัญหาที่ตอบยากแล้วอาจจะผิด ทำให้เป็นอันตรายได้เพราะประวัติหรือข้อมูลที่ให้มาทางจดหมายนั้น เป็นข้อมูลที่ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยคิดหรือเข้าใจเอาเอง ไม่มีการซักถามหรือสอบถามโดยคนตอบปัญหา เพื่อให้เข้าใจตรงกันกับผู้ป่วยหรือเพื่อให้ข้อมูลชัดเจนขึ้น นอกจากนั้น ยังไม่มีการตรวจร่างกายและการตรวจอื่นๆ ...