อาหาร 5 หมู่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 224 ธันวาคม 2540
    ยำสารพัดเห็ดคุณแม่บ้านทราบไหมคะ ถ้าพูดกันถึงโปรตีนจากพืช ก็คงจะนึกถึงถั่วเหลืองเป็นอันดับแรก เพราะนมถั่วเหลือง ๑๐๐ กรัม มีโปรตีนถึง ๓.๔๐ กรัม สำหรับ “เห็ด” ก็มีโปรตีนไม่แพ้กัน นั่นก็คือ เห็ด ๑๐๐ กรัม มีโปรตีนประมาณ ๒.๔๐ กรัม แล้วยังอุดมไปด้วยแร่ธาตุต่างๆ คือ ฟอสฟอรัส วิตามินบี ๒, บี ๓ ( niacin ) , บี ๕, บี ๖ แล้วอย่างนี้เราจะละเลยไม่กินเห็ดกันได้อย่างไรคะคุณแม่บ้านคงคุ้นเคยกับต้มยำ หรือแกงจืด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 223 พฤศจิกายน 2540
    ยำทวายเข้าครัวฉบับนี้ หันมาเอาใจผู้ที่ต้องการจะควบคุมน้ำหนัก และกินให้ได้ประโยชน์กับร่างกายเต็มที่ เพราะจานนี้จะเน้นผักนานาชนิด นำมายำรวมกัน แต่ยำทวายจะเป็นยำที่ไม่มีรสจัดจ้าน ดุเดือดเหมือนยำทั่วๆ ไป รสชาติของยำทวายจะเผ็ดน้อยๆ ออกรสหวานอมเปรี้ยว จะมีกลิ่นหอมของหัวหอมเจียวและกะทิทวาย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายไว้ว่า ชื่อยำชนิดหนึ่ง มีผักลวก เช่น ผักบุ้ง กะหล่ำปลี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    โภชนาการต่ออนามัยช่องปากกรรมพันธุ์ สุขภาพกาย สุขภาพจิต สิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิต โภชนาการ การกินอาหารถูกต้องตามหลักการโภชนศาสตร์ มีส่วนช่วยทำให้ป้องกันโรคในช่องปากได้ โภชนาการและอาหาร มักจะถูกใช้ควบคู่กัน เนื่องจากทั้ง ๒ คำ มีความเกี่ยวข้องกัน แต่จะใช้แทนกันไม่ได้โภชนาการ หมายถึง กระบวนการที่ร่างกายได้รับสารอาหารแล้วนำไปสร้าง หรือเปลี่ยนเป็นสิ่งที่ร่างกายใช้เพื่อการดำรงชีวิต ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 222 ตุลาคม 2540
    เมี่ยงปลาช่อน“ปลาเห็นเหยื่อแต่ไม่เห็นเบ็ดคนเห็นผลประโยชน์แต่ไม่เห็นโทษ”เป็นสุภาษิตจีนที่มีมาแต่โบราณ จะเห็นว่า มนุษย์รู้จักจับปลามาเป็นอาหารนานแล้ว จนทุกวันนี้ปลายังเป็นอาหารที่สำคัญของมนุษย์ทุกชาติ ทุกภาษา เพราะปลาเป็นสัตว์ที่มีประชากรมากที่สุดในบรรดาสัตว์ที่มีกระดูกทั้งหลาย แทบจะกล่าวได้ว่า “มีน้ำที่ไหน มีปลาที่นั่น"เมื่อเทียบกับเนื้อวัว หมู และไก่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 221 กันยายน 2540
    ยำหัวปลีเข้าครัวฉบับนี้ ชวนคุณแม่บ้านมาทำอาหารจากหัวปลี ผักที่หาได้ตลอดฤดูกาลยิ่งบ้านไหนมีต้นกล้วย บางทีไม่รู้จะเอาหัวปลีมากินกับอะไร เข้าครัวจานนี้แนะนำ “ยำหัวปลี”วิธีปรุงนำหัวปลีหั่นฝอย แช่ในน้ำที่บีบมะนาวเพื่อไม่ให้ดำ มะพร้าวขูด แบ่งเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกนำมาคั่วให้เหลือง อีกส่วนคั้นเอาหัวกะทิให้ได้ ถ้วย กุ้งแห้ง ถั่วลิสงตำป่น หมูสับรวนให้สุก หัวหอมและกระเทียมซอยเจียว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 220 สิงหาคม 2540
    ปลาจีนนึ่งบ๊วย"ป ปลานั้นหายาก ต้องลำบากออกเรือไป...” คุณแม่บ้านคงเคยได้ยินลูกๆ ท่องอาขยานบทนี้จากในภาพยนตร์โฆษณาชิ้นหนึ่ง รู้สึกว่าจะฮิตติดปากเด็กๆ อยู่นานพักหนึ่ง “เข้าครัว” ฉบับนี้ก็เลยจะพาคุณแม่บ้านไปลุยน้ำจับปลากัน กับอาหารที่ชื่อว่า “ปลาจีนนึ่งบ๊วย”วิธีปรุงเริ่มจากการเลือกปลา ต้องเลือกที่สด โดยให้กดเนื้อปลาดู เนื้อปลาจะต้องแข็ง ไม่เละ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 219 กรกฎาคม 2540
    อาหารกับการเกิดโรค“อาหารคือชีวิต ชีวิตทุก ๆชีวิตย่อมเจริญเติบโตวิวัฒนาการขึ้นได้ และถึงจุดอวสานคือหมดสภาพไปก็เพราะอาหารการแพทย์ไทยรับสัจธรรมจากพระพุทธศาสนาบ่งชี้ถึงอาหารเป็นหลักสำคัญของชีวิต”เมื่อพูดถึงอาหาร เราๆท่านๆมักนึกถึง ข้าว กับข้าว ก๋วยเตี๋ยว หรือของกินต่างๆ แต่ในทางการแพทย์ไทยนั้นถือตามแนวพุทธว่า สิ่งที่เข้ามาสัมผัส หู ตา จมูก ลิ้น กายและใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 218 มิถุนายน 2540
    ผลไม้รวมมิตรลอยแก้วไทยเป็นประเทศที่มีผลไม้อุดมสมบูรณ์ และมีทุกฤดูกาล จนเลือกกินกันไม่หวาดไม่ไหว บางครั้งผลไม้ชนิดหนึ่งออกมายังไม่ทันวาย ผลไม้อีกชนิดก็ออกมาอีกแล้ว ติดๆกันจนกินไม่ทันก็มี แต่ถึงกินไม่ทัน เราก็มีวิธีถนอมอาหารไว้กินนานๆหลายวิธี เช่น ดอง แช่อิ่ม อบ ตากแห้ง กวน หรือบรรจุไว้ในกระป๋อง ซึ่งวิธีบรรจุในกระป๋องนี้ผ่านกระบวนการหลายอย่าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    อาหารมื้อเช้า ลดความเครียดชีวิตคนในเมืองมักจะไม่ได้กินอาหารเช้า เพราะความเร่งรีบ คุณเคยสังเกตตัวเองไหมว่า การไม่ได้กินอาหารเช้า ในวันนั้นคุณรู้สึกว่าตัวเองจะหงุดหงิดเป็นพิเศษและอารมณ์จะอ่อนไหวง่ายนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน พบว่า คนที่กินอาหารเช้าน้อยเท่าไรยิ่งเกิดความเครียดได้มากเท่านั้น และอารมณ์จะอ่อนไหวง่าย หงุดหงิดง่าย ในทำนองเดียวกันหากคุณกินอาหารมื้อกลางวันที่ให้พลังงานน้อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    เจาะลึกแพทย์แผนไทยกับพุทธศาสนา“ก่อนอื่นผู้เขียนต้องขอเรียนท่านผู้อ่านให้ทราบว่า การแพทย์แผนไทยมีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างแยกไม่ออก หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของพุทธศาสนาก็ว่าได้ ผู้เขียนจึงจำเป็นต้องนำเสนอระบบการแพทย์แผนไทยตามนัยแห่งพระพุทธศาสนา ซึ่งรูปแบบอาจยากสักหน่อยสำหรับคนรุ่นใหม่ แต่ไม่ยากสำหรับความเข้าใจ”มูลเดิมปฐมกาลของโลกมาจาก “ธารณธาตุ” คือ ...