ออกกำลังกาย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 62 มิถุนายน 2527
    ในยุคที่การวิ่งเพื่อสุขภาพ * กำลังเป็นแฟชั่นอยู่นี้ เรามักเห็นเด็กมาวิ่งเป็นประจำ เด็กบางคนก็เข้าแข่งขันวิ่งระยะไกลร่วมกับผู้ใหญ่ บางคนอาจถามตัวเองอยู่ในใจว่า เป็นการสมควรแค่ไหนที่เด็กจะวิ่ง หรือพ่อแม่ที่เป็นนักวิ่งก็อาจสงสัยว่า ควรพาลูกไปร่วมออกกำลังด้วยหรือไม่ผู้เขียนเองก็มีความสงสัยเช่นเดียวกัน และพยายามหาคำตอบอยู่ เท่าที่ลองค้นคว้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 62 มิถุนายน 2527
    ในบรรดาสัตว์ที่เดินหรือวิ่งได้นั้นมนุษย์นับว่าเป็นสัตว์ที่วิ่งได้โดยลำตัวตั้งตรงที่สุด ไม่เพียงแต่ขาทั้ง 2 ข้างเท่านั้น ที่ต้องทำงานขณะวิ่ง ส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อข้อต่อของแขน ศีรษะ คอ ลำตัวต้องทำงานร่วมไปด้วยเพื่อให้ท่าทางวิ่งอยู่ในลักษณะที่ตรง นอกจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ ของขา เช่น เท้าและข้อเท้า หน้าแข้ง ข้อเข่า และข้อตะโพกแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 61 พฤษภาคม 2527
    “อะไรเอ่ยตอนเช้า 4 ขา กลางวัน 2 ขา ตอนเย็น 3 ขา” เมื่อครั้งยังเป็นเด็กอยู่ที่ชั้นประถม มีบทเรียนบทหนึ่งกล่าวถึงตัวสฟินซ์ที่มีศีรษะใบหน้าเป็นคนแต่ตัวเป็นสิงห์โตของอียิปต์ในสมัยดึกดำบรรพ์ ก่อนที่จะกลายเป็นหินสามารถพูดภาษามนุษย์ได้ ชอบวางอำนาจบาทใหญ่ที่ปากทางถนน ตั้งคำถามต่อมนุษย์ที่จำเป็นต้องสัญจรไปมาบนถนนเส้นนี้ ถ้าตอบคำถามข้างบนนี้ได้ก็ยอมให้ผ่านไปได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 61 พฤษภาคม 2527
    บ้านเราอากาศร้อนทั้งปี แม้หน้าหนาวก็มักเย็นอยู่ชั่วเช้า ๆ เย็น ๆ กลางวันชักร้อนยิ่งออกไปกลางแจ้งแล้วแดดแจ๊ด ด้วยว่าผ้าโปร่งใสไม่มีเมฆบดบัง นอกจากความร้อนแล้ว ความชื้นก็ยังสูงโดยเฉพาะหัวเมืองชายทะเล ทั้งสองสิ่งนี้คือความร้อนกับความชื้นเป็นอุปสรรคสำคัญอย่างหนึ่งในการออกกำลังเพราะเป็นสาเหตุให้มีการเป็นลมเกิดขึ้นได้อย่างที่บางทีเรียกว่า “ลมแดด” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    ผู้ที่สนใจจะรักษาตนเองเบื้องต้น ในยามเจ็บป่วย ก่อนอื่นก็ควรจะรู้จักตัวเองในยามไม่เจ็บป่วยเสียก่อน คอลัมน์ “ร่างกายของเรา” จะมาคุยกับท่านเกี่ยวกับเรื่องความเป็นไปในร่างกายของตัวเราเองในยามปกติหรือเรียกให้หรูอีกนิดคือ ว่าด้วยวิชากายวิภาคสรีรวิทยาระดับชาวบ้าน ซึ่งเราจะเล่าสู่กันฟังเป็นตอนๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    จดหมายฉบับหนึ่งเขียนมาถามว่า “ผมได้เริ่มวิ่งมาเป็นเวลา 2-3 เดือน ตอนนี้เริ่มรู้สึกมีปวดบริเวณด้านในของหน้าแข้ง คงเป็นลักษณะที่เรียกว่า Shin Splint ผมควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร” อีกฉบับหนึ่งเขียนมาว่า “ผมอายุย่างเข้า 40 แล้ว รู้สึกเจ็บปวดหัวเข่าเวลาวิ่ง แพทย์บอกว่าเป็นโรคกระดูกงอก ผมควรจะวิ่งต่อไปหรือไม่”จดหมายฉบับแรกแสดงว่าผู้เขียนมีการศึกษาพอสมควร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 60 เมษายน 2527
    การวิ่งมีหลายชนิด เช่น วิ่งเปี้ยว, วิ่งผลัด, วิ่งเร็ว และวิ่งราว การวิ่งแต่ละอย่างย่อมมีเทคนิคแตกต่างกันออกไป วิ่งเปี้ยว, วิ่งผลัด ต้องอาศัยความเร็วขอฝีเท้าและความแม่นยำของมือ (ในการส่งผ้าหรือไม่วิ่ง) ส่วนผู้ที่วิ่งเร็วได้ดี อาจเป็นนักวิ่งราวที่มีความสามารถ อย่างไรก็ดี บทความนี้จะไม่สนับสนุนให้ผู้อ่านไปวิ่งราว ด้วยว่าเสี่ยงต่อคุกตะรางเกินไปการวิ่งเพื่อสุขภาพก็ย่อมต้องมีหลักการอยู่บ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 59 มีนาคม 2527
    กระดูกนิ้วเท้าหักมักพบในผู้วิ่งเท้าเปล่า เกิดจากนิ้วเท้ากระแทกกับก้อนหินหรือฟุตบาธอย่างรุนแรง จนทำให้กระดูกนิ้วเท้าหัก เกิดอาการบวมแดงและเจ็บปวดมาก นิ้วเท้าที่หักจะมีลักษณะผิดรูปไป และกางออกทางด้านข้างได้มากกว่าปกติ เมื่อมีอาการเช่นนี้เกิดขึ้นควรหยุดวิ่งทันที และกระชับนิ้วเท้านั้นให้อยู่กับที่ โดยใช้ไม้หรือกระดาษแข็งดามแล้วรัดด้วยหนังสติ๊ก หรือกระชับไว้กับนิ้วข้างเคียงก็ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 กุมภาพันธ์ 2527
    คอลัมน์ “โรคน่ารู้” ฉบับที่แล้ว ได้เสนอเรื่อง “โรคปวดข้อ ปัญหาระดับชาติที่แอบแฝง” โดย พ.ญ.เล็ก ปริวิสุทธิ์ ท่านได้กล่าวถึงสาเหตุ อาการ และวิธีรักษา พร้อมทั้งแนะนำให้ฟื้นฟูสมรรถภาพของกล้ามเนื้อที่เคลื่อนไหวข้อให้แข็งแรง จะได้ทนทนกับการใช้งานฉบับนี้จะขอนำเสนอวิธีการบริหารร่างกายให้กล้ามเนื้อแข็งแรง ตั้งแต่ศีรษะ ตลอดลงไปถึงปลายเท้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 52 สิงหาคม 2526
    "กันไว้ดีกว่าแก้"หมอชาวบ้าน" ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรค ซึ่งได้ผลดีและประหยัดกว่าการรักษาหลังเกิดโรคแล้ว แต่การเขียนบทความสารคดีเชิงป้องกันและส่งเสริมให้เกิดพลานามัยที่ดีและน่าอ่านนั้นเป็นเรื่องยาก จึงปรากฏแต่บทความเชิงการรักษาพยาบาลหรือแก้ไขโรคเสียส่วนมา "หมอชาวบ้าน" ...