โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 212 ธันวาคม 2539
    เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 3)อาการร่วมหลายอย่างที่จะทำให้เรารู้สาแหตุของโรคได้เช่น1.อาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ถ้าเกิดร่วมกับอาการไข้ตัวร้อนหรือรู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวๆร้อนๆ หรือสะบัดร้อนสะบัดหนาวจะทำให้นึกถึง “โรคไข้หวัด” (common cold or coryza) ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยมาก และอาจทำให้มีอาการเจ็บคอ ไอแห้งๆ หรือไอมีเสมหะสีขาวๆหรือไม่มีสี และอาจมีอาการปวดเมื่อยตามตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 005 ธันวาคม 2539
    มะเร็งผิวหนังมะเร็งเป็นโรคที่น่าหวาดกลัวในความรู้สึกของคนทั่วไป เมื่อเอ่ยถึงโรคนี้ย่อมหมายถึงโรคร้ายที่ไม่มีทางรักษาหาย เมื่อเป็นแล้วจะลุกลามรวดเร็วและถึงแก่ชีวิตในเวลาอันสั้นทุกราย จากความก้าวหน้าทางวิชาการพบว่ามีทางผ่อนหนักให้เป็นเบาได้ โดยการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มเป็นน้อยๆ ก็คือการตรวจร่างกายสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในที่ๆพบว่าเป็นมะเร็งบ่อยๆ เช่น เต้านม ปากมดลูก เป็นต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 212 ธันวาคม 2539
    บริหารข้อ (ตอนที่ 2)ในคราวที่แล้วได้ทิ้งท้ายไว้ว่าฉบับนี้จะแนะนำท่าบริหารคอ ได้ทำตามสัญญาที่ให้ไว้แล้วครับเชื่อว่าหลายๆคนเคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับคอเคล็ด ปวดคอบ้าง หรืออาจจะมีคนรู้จักมาบ่นให้ฟังว่า นอนตกหมอนปวดคอไปหมด หรือนอนหลับบนรถแล้วรถหยุดกะทันหัน คอโยกไปข้างหน้าอย่างแรงก็เลยปวดคอ ฯลฯการบริหารให้กล้ามเนื้อคอแข็งแรงก็เป็นอีกหนทางที่จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดคอ หรือในกรณีที่เกิดปวดคอขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    “ไวน์” กับโรคหลอดเลือดหัวใจในโลกของข้อมูลข่าวสารทำให้ผู้ผลิตต้องคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของสินค้าตนเองมากขึ้น ปัจจุบันเราจะพบเห็นสินค้าต่างๆ โฆษณาหรือประชาสัมพันธ์คุณภาพสินค้าของตนเองให้เกี่ยวข้องกับเรื่องสุขภาพมากขึ้น ไม่ว่าจะมีคุณประโยชน์เพียงบางส่วนหรือเท่าไรก็ตาม ก็จะถูกนำมากล่าวถึงเป็นส่วนสำคัญหลักของสินค้านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    บริหารข้อ (ตอนที่ 1) ร่างกายของเรามีข้อต่อมากมายเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว ลองนึกภาพดูว่าหากร่างกายเราไม่มีข้อต่อเลย มีแต่กระดูกแท่งตรงๆ เวลาเดินเราก็คงเดินเหมือนหุ่นยนต์ มือก็ใช้จับสิ่งของไม่ได้ ฯลฯ ดังนั้น ข้อ จึงเป็นอวัยวะหนึ่งที่มีความสำคัญมากกับร่างกายของมนุษย์ข้อ ที่ใช้มานานย่อมมีการเสื่อมตามอายุการใช้งาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 ตุลาคม 2539
    ทำไมเขาถึงฆ่าตัวตายการพยายามฆ่าตัวตายในวัยรุ่นมีสถานการณ์ที่เลวร้ายขึ้น อะไรคือสิ่งที่ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น และเราจะช่วยกันแก้ไขสถานการณ์นี้ได้อย่างไรสถานการณ์จากการศึกษาทางระบาดวิทยาในประเทศตะวันตกพบว่าการฆ่าตัวตายสำเร็จในวัยรุ่นมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆในสหรัฐอเมริกาอัตราการฆ่าตัวตายในกลุ่มอายุ ๑๕-๒๔ ปี เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ๔o ในช่วงเวลา ๑o ปี คือ เพิ่มจาก ๘.๘ คนต่อประชากรแสนคนในปี ๒๕๑๓ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 210 ตุลาคม 2539
    ออกกำลังกายทำให้ข้อเสื่อมเร็วจริงหรือมีคนจำนวนมากตั้งข้อสงสัยว่าการออกกำลังกาย เช่น วิ่งมาราธอน เดิน เป็นกีฬาที่ต้องใช้เท้าวิ่งและกระโดด อาจทำให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น ก็เลยพยายามหลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย แต่ผลที่ตามมาก็แสดงให้เห็นผลเสียมากกว่าผลดี เช่น มีภาวะน้ำหนักเกิน โรคอ้วน ร่างกายอ่อนแอ สมรรถภาพในการทำงานลดลง และจิตใจหงุดหงิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    อันตรายจากยาแก้แพ้โรคผิวหนังมีประมาณ ๒oo กว่าชนิด โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ เช่น โรคภูมิแพ้ โรคติดเชื้อ โรคกรรมพันธุ์ โรคของเนื้อเยื่อชนิดต่างๆในผิวหนัง เช่น ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำมันขุมขน หลอดเลือดและเซลล์สี เป็นต้นโรคติดเชื้อนั้นเกิดจากการได้เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัสและเชื้อราส่วนโรคภูมิแพ้จัดเป็นโรคกลุ่มใหญ่และมีอุบัติการณ์สูงที่สุด เพราะจำแนกออกไปได้อีกหลายโรค เช่น แพ้ยา แพ้อาหาร แพ้อากาศ แพ้แดด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    หอบเหนื่อย (ตอนจบอาการหอบเหนื่อยที่ไม่ฉุกเฉินสำหรับคนไข้ที่หอบเหนื่อยแต่ไม่ฉุกเฉิน เพราะไม่มีอาการต่างๆดังที่กล่าวไว้ในฉบับที่แล้วก็ควรให้การดูแลรักษาขั้นแรกดังนี้1.ให้อยู่ในท่าที่คนไข้สบายที่สุด อาจเป็นท่านั่งพิง ท่านั่งก้มไปข้างหน้า (ฟุบกับโต๊ะ) หรืออื่นๆ2.ใช้พัด หรือพัดลมโบกเป่าให้คนไข้ 3.พูดให้กำลังใจ ให้คลายความกลัวและความเครียดความกังวลลง4.กำจัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 208 สิงหาคม 2539
    การไหว้และโอบกอดสานสัมพันธ์ในครอบครัว“ไฮ... สบายดีมั้ย”“ฮัลโล”“เฮ...หวัดดี”ปัจจุบันเราคงเคยได้พบได้เห็นได้สัมผัสกับการทักทายเช่นนี้ในชีวิตประจำวันมากขึ้น จนดูเหมือนว่าคนทันสมัยต้องทักทายเช่นนี้ สิ่งเหล่านี้คงไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยไม่มีที่มาที่ไปเราอาจพบการทักทายเช่นนี้ในภาพยนตร์ตะวันตกเป็นประจำหรือชาวต่างชาติที่เราพบเห็นหรือสัมผัส ...