โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    วิธีสยบความเครียด“เปลี่ยนชีวิต” ผ่านไปด้วยรูปแบบที่หลากหลายบนส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของแต่ละคน จนกระทั่งมีท่านผู้อ่านบ่นเข้ามาว่าทำงานนั่งโต๊ะทั้งวันกำลังวังชาถดถอย ความคล่องตัวลดลง เอ๊ะ หรือที่พูดกันว่า “ไม่ออกกำลังแล้วจะมีกำลังได้อย่าไร ไม่ยืดเส้นยืดสายแล้วจะคล่องแคล่วได้อย่างไร” สงสัยท่าจะจริงเสียแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    อิมมูน–ภูมิคุ้มกัน (อีกครั้ง)เมื่อหลายฉบับก่อนได้กล่าวถึงความหมายของคำว่า “อิมมูน - ภูมิคุ้มกัน” และ “การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน” รู้สึกว่ายังมีแง่มุมบางอย่างที่ยังไม่ได้กล่าวถึง จึงใคร่ขอเพิ่มเติมเพื่อให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ภูมิคุ้มกันที่เรียกว่า “อิมมูน” (immune) หรือ “อิมมูนิตี้” (immunity) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 กุมภาพันธ์ 2536
    ความดันโลหิตสูงหมอชาวบ้านครั้งนี้นำเรื่องความดันโลหิตสูงเป็นเรื่องขึ้นปก ความดันโลหิตสูงเป็นสภาวะที่พบบ่อยและเพิ่มมากขึ้นในสังคมปัจจุบัน ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้มีความดันโลหิตสูงไม่มีอาการ ฉะนั้นจึงไม่รู้ว่าตนเองมีความดันโลหิตสูง จะรู้หรือมีผู้อื่นรู้ก็ต่อเมื่อเกิดเรื่องแล้ว เช่น เส้นโลหิตในสมองแตก หัวใจวาย หรือการทำงานของไตล้มเหลว (ไตวาย) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 กุมภาพันธ์ 2536
    ความดันโลหิตสูงในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกๆปี ทั่วโลกได้กำหนดให้มีวันสำคัญสำหรับหนุ่มสาวขึ้นมาวันหนึ่ง นั่นคือ วันแห่งความรัก (Valentine’s day) โดยให้ถือเอาวันที่ 14 ของเดือนเป็นวันพิเศษสำหรับวาระนี้ เคยลองถามคนข้างเคียงแถวนี้ดูว่าใครเคยมีความรักบ้าง ก็ยกมือยอมรับกันให้พรึ่บพรั่บไปหมด จึงหยอดคำถามข้อต่อไปว่า เวลาที่มีโอกาสได้พบคนรักครั้งแรกๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 165 มกราคม 2536
    เกาต์ข้อน่ารู้1. โรคเกาต์ (เก๊าท์, เก๊าต์ก็มีการเขียนกัน) ชื่อประหลาดเนื่องจากเป็นชื่อทับศัพท์จากคำว่า “gout” หมายถึง โรคปวดข้อ ข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง เกิดจากร่างกายมีการสะสมของสารที่เรียกว่า “กรดยูริก” (uric acid) มากเกินไป กรดยูริกเป็นสารที่ย่อยสลาย (เผาผลาญ) มาจากสารเพียวรีน (purine) ซึ่งมีมากในเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ และพืชผักอ่อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ข่าวล่าน่าสนสำหรับผู้ใช้ยาแก้แพ้ชนิดไม่ง่วงเป็นประจำยาแก้แพ้หรือยาต้านฮิสตามีนที่มีใช้กันอาจแบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ 2 กลุ่ม คือ1. ยาแก้แพ้ชนิดที่ทำให้ง่วงนอน เช่น คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine), บรอมเฟนิรามีน (brompheniramine), เคลมัสทีน (clemastine), ไฮดร็อกซิซีน (hydroxyzine) เป็นต้น2. ยาแก้แพ้ชนิดไม่ง่วง เช่น เทอร์เฟนาดีน (terfenadine) หรือเทลเดน (Teldane), แอสเทมิโซล (astemizole) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนจบ)15. อาการชักขณะหลับ อาจเกิดจากโรคต่างๆ เช่น15.1 โรคลมชักหรือลมบ้าหมู ผู้ป่วยโรคลมชักที่ชักทั้งตัวจะมีเกือบครึ่งหนึ่งที่ชอบชักในขณะหลับ และมีประมาณร้อยละ 10 ที่มีอาการชักเฉพาะเวลาหลับเท่านั้น ผู้ป่วยโรคลมชักจำนวนมากจะหลับไม่ปกติ โดยการหลับในระยะที่ 1 มักจะยาวขึ้น แต่การหลับในระยะที่ 3 และ 4 (การหลับสนิท) จะลดลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 16)โรคภัยไข้เจ็บบางอย่างก็อาจจะเป็นอุปสรรคทำให้ช่วงเวลาแห่งการนอนหลับพักผ่อนของคุณไม่ราบรื่นนัก ซึ่งจะเป็นผลให้เช้าวันต่อมาของคุณไม่สดชื่นเท่าที่ควร เกิดอาการง่วงเหงาหาวนอนขณะทำงาน ถ้าเป็นเช่นนี้อาจจะถูกเพ่งเล็งจากเจ้านายได้เหมือนกัน เชื่อว่าคุณคงอยากรู้ว่าสาเหตุของอาการเหล่านี้คืออะไร เพื่อจะได้หาทางแก้ไขต่อไป อาการที่ว่านั้น ได้แก่11. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    ลดความดันเลือดโดยไม่ต้องพึ่งยามีคนจำนวนหลายร้อยล้านคนทั่วโลกที่มีปัญหาเกี่ยวกับความดันเลือดสูง ซึ่งก่อให้เกิดโรคหัวใจ ไตล้ม และโรคทางสมอง ฯลฯ โดยเฉพาะโรคหัวใจเป็นสาเหตุของการตายอันดับหนึ่งในขณะนี้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าความดันเลือดสามารถควบคุมได้ง่ายโดยใช้ยาลดความดันที่มีขายอยู่มากมายในปัจจุบัน แต่พบว่าผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ก็มีอยู่มากเช่นกันเร็วๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 15)นอกจากการปัสสาวะรดที่นอนซึ่งมักเกิดขึ้นในเด็กขณะหลับแล้ว อาการโขกศีรษะ กลิ้งศีรษะ และการโยกตัว ก็เป็นอาการที่อาจจะพบได้ในเด็กเช่นเดียวกัน ซึ่งอาการเหล่านี้บ่อยครั้งทีเดียวได้สร้างความวิตกกังวลให้แก่พ่อแม่ด้วยเหตุที่คิดว่าเป็นความผิดปกติของลูก แต่แท้จริงแล้วอาการเหล่านี้เกิดจากสาเหตุอะไร จะแก้ไขได้อย่างไร ...