คุยสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    เมล็ดทานตะวันผู้ถาม : วรรณี / เชียงใหม่คุณแม่ดิฉันซื้อเมล็ดทานตะวันที่กะเทาะเปลือกแล้วมากินทุกวัน เพราะเห็นว่าช่วยบำรุงสายตา ไม่ทราบว่าจะมีโทษต่อร่างกายบ้างหรือไม่ดิฉันเป็นผู้หญิงที่สนใจเรื่อง “ประโยชน์และโทษของเมล็ดทานตะวัน” เพราะคุณแม่ของดิฉันซื้อเมล็ดทานตะวันที่กะเทาะเปลือกแล้ว (มีขายเป็นซองๆ ละ25 บาท) มากินทุกวันๆ ละ3 ครั้งๆ ละ1 ช้อนโต๊ะ หลังอาหาร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    น้ำมันปลาผู้ถาม : อเนก / กรุงเทพฯน้ำมันลดไขมันเป็นน้ำมันหรือไขมันปลาทุกชนิดใช่หรือไม่ผมสนใจเกี่ยวกับเรื่องน้ำมันปลา แต่มีความสงสัยว่า “น้ำมันปลา” ที่ว่าเป็นน้ำมันลดไขมันนั้น หมายถึงน้ำมันหรือไขมันปลาทุกชนิดหรือไม่ เช่น ไขมันปลาจากปลาสวาย ปลาเทโพ ปลาเก๋า ฯลฯผู้ตอบ : ดร.อรพรรณ มาตังคสมบัติFish oil หมายถึง น้ำมันหรือไขมันปลาทุกชนิด แต่ละชนิดอาจจะแตกต่างกันที่ปริมาณของ EPA (Eicosa ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    การอาพาธของท่านพุทธทาสมหาเถระตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคมจนล่วงเข้ากลางเดือนมิถุนายน2536 คนที่ป่วยแล้วดังที่สุด คือ ท่านอาจารย์พุทธทาสมหาเถระ ท่านอายุครบ87 ปี เมื่อ27 พฤษภาคม2536 ภายในไม่ถึง2 ปีหลังท่านอาพาธหนัก3 ครั้ง คือ เมื่อ27ตุลาคม2534 หัวใจวาย และน้ำท่วมปอด มีอาการหอบเหนื่อย28กุมภาพันธ์2535 เส้นเลือดในสมองอุดตัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    กากใย-ไฟเบอร์ : อาหารต่ออาหาร“เมื่อคราวก่อนคุณหมอพูดถึงผักและผลไม้ว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายของเรา จึงอยากให้คุณหมอช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้กระจ่างหน่อยเถอะครับ” นายแดงปุจฉาขึ้นมาอีกครั้ง“ข้อดีอันดับแรกสุด ก็คือ ผักและผมไม้ส่วนใหญ่กินมากเท่าไหร่ก็ไม่อ้วน เพราะให้พลังงานหรือแคลอรีน้อยมาก ไม่เหมือนอาหารพวกเนื้อ แป้ง น้ำตาล และไขมัน ที่ต้องกำจัดปริมาณให้พอเหมาะ” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 6)ในร่างกายของเรามีอวัยวะต่างๆ มากมายที่อาจเกิดอาการเลือดออกได้ บางแห่งอาจจะไม่มีบาดแผลแสดงให้เห็นแต่ก็เกิดอาการเลือดออกจนคนที่เจอปัญหานี้ไม่รู้ว่าควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร หากอยากรู้ติดตามต่อได้เลยครับ7. ไอเป็นเลือดหรือขาก เป็นอาการเลือดออกทางปากอีกอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้เกิดจากบาดแผลโรคในปาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ดื้อเงียบครั้งนี้หมอจะขอยกเอาเหตุการณ์จริงที่เพิ่งประสบมากับตัวเอง มาสาธกให้พิจารณากัน เป็นเรื่องของเด็กชายคนหนึ่งอาจจะคล้ายกับเด็กที่ท่านเคยรู้จักหรือกำลังอยู่ในปกครองของท่าน อาจจะเป็นลูกเป็นหลานของท่าน หรือเป็นศิษย์น้อยๆ แม้เรื่องนี้จะไม่มีความน่าตื่นเต้นมากมายอะไร ทว่าก็นับเป็นเรื่องที่แฝงเร้นบางอย่างที่ไม่เล็กเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์เอาไว้ให้ชวนคิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ไข้ทับระดู- ระดูทับไข้“คุณหมอคะ น้องสาวดิฉันที่คุณหมอฉีดยาแก้ไข้ไปเมื่อตะกี้นี้ พอกลับถึงบ้าน คุณแม่ดิฉันและเพื่อนบ้านต่างพูดใส่หูว่า เป็นไข้ทับระดู โบราณเขาห้ามฉีดยา ฉีดแล้วจะเป็นอันตรายน้องสาวตกใจหน้าซีดเลย ไม่ทราบว่าจะเป็นอะไรตามที่เขาว่าหรือเปล่าคะ?” ญาติคนไข้พาคนไข้กระหืดกระหอบกลับมาหาหมอหมอซักถามและตรวจดูอาการคนไข้ซ้ำอีกรอบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 5)อาการร้อน ๆ ของเดือนเมษา-พฤษภานี้ทรมานดีแท้ แล้วอาการยอดฮิตในหน้าร้อนอีกอาการหนึ่ง ก็คือเลือดออกที่จมูกหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เลือดกำเดา ซึ่งก็ได้นำการวินิจฉัยและการรักษาอย่างง่ายๆ มาเสนอดังต่อไปนี้5. เลือดออกที่จมูก : ถ้าเลือดออกจากบาดแผลภายนอกจากการถูกของมีคม การแกะ การบีบสิวเสี้ยนหรืออื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    น้ำกำลังร้อนจัดและแล้ง เลยเอาเรื่องน้ำมาคุยกันในครั้งนี้ น้ำในโลกมีปริมาณคงที่ แต่คนมีจำนวนมากขึ้นๆ จนมีกว่า 5,000 ล้านคนแล้ว ทุกคนนอกจากต้องกินต้องใช้น้ำแล้วยังปล่อยของเสียลงน้ำอีก น้ำจึงแห้งและเน่าทำให้มนุษย์กำลังเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนน้ำอย่างที่ไม่เคยเจอมาก่อนมนุษย์ต้องสร้างจิตสำนึกใหม่ และจริยธรรมใหม่เกี่ยวกับน้ำ อันจะนำไปสู่พฤติกรรม 3 ประการด้วยกัน คือ1. การประหยัดน้ำ2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    ผลยาหลอก“คุณหมอครับ ยาแก้ปวดเม็ดสีขาวที่คุณหมอจ่ายให้ไปกินคราวที่แล้ว ผมกินแล้วไม่ค่อยได้ผล ขอเป็นเม็ดสีฟ้าขาวอย่างครั้งก่อนๆ โน้นดีกว่าครับ” คนไข้ที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรนเป็นประจำมาขอร้องให้หมอสั่งยาตามสีสันที่ชอบ“เอ้า...หมอบอกตรงๆว่ายาเม็ดสีขาวกับสีฟ้าขาวเป็นตัวยาแก้ปวดพาราเซตามอลเหมือนๆกัน ต่างกันตรงยี่ห้อและสีสันเท่านั้น ฤทธิ์ยาไม่น่าจะต่างกัน...” ...