บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    เส้นลายมือในทรรศนะแพทย์จีนเส้นลายมือนั้นมีความสัมพันธ์กับสุขภาพอย่างแนบแน่น เครื่องหมายและตำแหน่งบนฝ่ามือที่แตกต่างกัน จะบ่งบอกถึงความแข็งแรงของสุขภาพ และโรคภัยที่แตกต่างกันด้วยเส้นลายมือที่ดี ควรเป็นเส้นที่ชัดเจนและสวยงาม เส้นไม่ใหญ่ สีไม่จางซีด ไม่มีเส้นแตก ไม่มีเกาะเป็นเหลี่ยม หรือมีเครื่องหมายอุปสรรคอื่น ๆโดยทั่วไปแล้ว ถ้าฝ่ามือซีดมากจะบ่งบอกถึงสุขภาพที่ไม่แข็งแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    ถนอมผิวผิวหนังที่ห่อหุ้มร่างกายของเรามีความสำคัญในด้านป้องกันอันตรายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นต่ออวัยวะภายใน รวมทั้งเป็นเสมือนกระจกเงาส่องให้เห็นสุขภาพของร่างกายหรือเป็นเครื่องแสดงถึงความผิดปกติหรือโรคอื่น ๆ ของร่างกายอีกด้วยฉะนั้น ผิวหนังจึงเป็นอวัยวะที่เราควรทะนุถนอมบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์อยู่เสมอ ทั้งนี้ก็ย่อมจะต้องอาศัยความเข้าใจในการทะลุถนอมรักษาผิวหนัง รวมทั้งการใช้เครื่องสำอาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    เมื่อผูกแล้วต้องแก้ผูกหรือไม่ผูก คืออะไรคำว่า “ผูก” ในที่นี้หลายคน คงสงสัยว่าคืออะไร แต่บางคนอาจจะเดาได้แล้วว่าเรากำลังจะพูดถึงคำว่า “ท้องผูก” ซึ่งเป็นอาการที่อาจจะเกิดกับใครก็ได้ โดยปกติจะมีน้ำและส่วนประกอบอื่น ๆ ประมาณ 1,500 มิลลิลิตร ที่จะผ่านลงมาสู่ลำไส้ใหญ่และทวารหนักเพื่อผลิตเป็นอุจจาระประมาณ 50-200 กรัม แล้วแต่ปริมาณน้ำและอาหารที่แต่ละคนบริโภค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    แกงเลียงบวบและผัดบวบเพื่อให้สอดคล้องกับคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าที่เสนอเรื่อง บวบ : ผัก ใบ ใย เมล็ด ประโยชน์เหลือหลาย “เข้าครัว” จึงขอเสนอรายการอาหารเกี่ยวกับบวบถึง 2 รายการคือ แกงเลียงบวบและผัดบวบ ซึ่งอาหารทั้ง 2 อย่างนี้เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปอยู่แล้ว แต่คนรุ่นใหม่อาจจะกินบวบไม่ค่อยเป็น อยากให้ลองชิมดูจะพบว่าบวบนั้นหวานอร่อยอย่าบอกใครเชียวลองมาเข้าครัวทำตามขั้นตอนที่เสนอมาข้างล่างนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    บวบ : ผักผลพื้นบ้าน ดอกนั้นสีงาม“สองเต้าห้อยตุงตังถุงตะเคียว โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้มเสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อมมันเน่าเชยน่าชมนางเทวี...”บทกลอนข้างต้นนี้คัดมาจากบทละครเรื่อง ระเด่นลันได ของพระมหามนตรี (ทรัพย์) แต่งไว้ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 นับเป็นหนังสือกลอนชั้นเอกเรื่องหนึ่งจำพวกเรื่องล้อเลียนขบขัน กลอนที่ยกมานั้นเป็นบทชมโฉมนางประแดะ เมื่อระเด่นลันไดมาพบครั้งแรก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    รู้ตัวอยู่กับการเคลื่อนไหว : ศิลปะแห่งความสุข/ของฝากจากอเมริกา (ตอนที่ 4)ในช่วงเดือนสิงหาคม 2538 ผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เพื่อร่วมประชุมสัมมนานานาชาติ (3rd World Congress of Medical Acupuncture and Natural Medicine) ซึ่งจัดโดย “มูลนิธิการแพทย์ ธรรมชาติแห่งโลก” (World Natural Medicine Foundation) ที่เมืองเอดมอนตัน ประเทศแคนาดา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    ทำไม คนเราจึงสะอึก มีวิธีแก้ไขอย่างไรอาการนี้เกิดได้กับคนทุกคน สาเหตุเป็นเพราะกระเพาะอาหารเกิดการระคายเคือง จึงได้ไปกระคุ้นให้เส้นประสาทในบริเวณนี้ทำงานผิดปกติ ชักนำให้กล้ามเนื้อกะบังลม (กล้ามเนื้อที่กั้นกลางระหว่างช่องอก กับช่องท้อง) มีการหดเกร็งตัวเป็นจังหวะ ๆ และกล้ามเนื้อซี่โครงก็ได้รับผลกระเทือนให้เกิดจากหดเกร็งตัวในลักษณะเดียวกันอย่างไรก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    ปวดหัวปวดหัวหรือปวดศีรษะ ในที่นี้หมายถึง อาการปวด หรือเจ็บ หรือตื้อ หรือร้าว หรือหนักบริเวณหัว (บริเวณศีรษะ) ตั้งแต่บริเวณส่วนบน(หน้าผาก) ขึ้นไปที่ส่วนบนสุดของศีรษะแล้วลงไปยังบริเวณท้ายทอย และด้านข้างของกะโหลกศีรษะทั้งสองข้างถ้าปวดต่ำกว่าหน้าผากลงมาเรามักจะเรียกเป็นการปวดของส่วนต่าง ๆ ที่มีชื่อเฉพาะโดยตรง เช่น ปวดคิ้ว ปวดจมูก ปวดโหนกแก้ม ปวดคาง (เจ็บคางหรือเจ็บขากรรไกร) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    การเผชิญการติดเชื้อเอดส์ซึ่ง ๆ หน้า พลิกร้ายให้กลายเป็นดีพระกรรมฐานเมื่อแรกไปอยู่ในป่าช้ามีความกลัวผีเป็นอย่างยิ่ง เมื่อเผชิญกับความกลัวซึ่ง ๆ หน้าโดยไม่หลบลี้หนีไปไหน ไม่ช้าจะหายกลัวโดยสิ้นเชิง ผู้ติดเชื้อเอดส์เผชิญกับความตายซึ่ง ๆ หน้า หลบลี้หนีไปไหนไม่ได้ บางคนหลุดพ้นจากความกลัวตายโดยสิ้นเชิง เมื่อหลุดพ้นจากความกลัวตาย ก็สงบ ใจก็สงบ กายก็สงบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    ดัดตน แก้ปัศฆาฏตคริวดาบศเทวบิดนี้ นักงาน ...