อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ชะอมผักพื้นบ้านเสน่ห์แรงในบรรดาผักพื้นบ้านของไทยซึ่งมีอยู่มากมายนั้น บางชนิดมีคุณสมบัติพิเศษซึ่งผู้ไม่คุ้นเคยจะรู้สึกยากลำบากในการกินหรือไม่รู้สึกชอบรสชาติเลย แต่หากพยายามทดลองต่อไป จนกระทั่งคุ้นเคยแล้ว จะกลับรู้สึกว่าผักชนิดนั้นมีรสชาติอร่อยเหนือกว่าผักอื่นๆ ซึ่งกินได้ง่ายกว่าผักพื้นบ้านที่มีลักษณะพิเศษดังกล่าวอาจเป็นผักที่มีรสชาติขม เช่น มะระ สะเดา หรือขี้เหล็ก มีรสชาติเผ็ดร้อน เช่น พริก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ไขมันในเลือดสูงมีผู้ป่วยบางคนวิ่งมาหาหมอด้วยความตกใจซึ่งที่จริงไม่ใช่ผู้ป่วย เพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไร เพียงแต่อ้วนกว่าปกติไปสักหน่อย และก็กังวลเรื่องไปวัดไขมันในเลือด และพบว่าสูง 240240 หมายถึง240 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี หรือ 100 มิลลิลิตร หรืออาจเรียกว่า 240 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (240 มก.%) ซึ่งถ้าใช้หน่วยใหม่ที่สากลโลกเขาเปลี่ยนมาใช้กัน ก็จะประมาณ 6.2 มิลลิโมลต่อเลือด 1 ลิตร หรือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    การลดไขมันหญิงสาวหน้าตาสวย รูปร่างอ้วน อายุประมาณ ๓๐ เศษ ก้าวเดินฉับๆเข้าไปในร้านหมอหญิง : “ดิฉันต้องการมาลดไขมันค่ะ”หมอ : “ไขมันที่ไหนครับ”หญิง : “อ้าว...หมอไม่รู้เหรอว่าเขาลดไขมันที่ไหน ก็ลดไขมันที่ท้อง สะโพก ต้นขา นี่แหละค่ะ สำคัญกว่าที่อื่น”หมอ : “ครับ ถ้าคุณจะลดไขมันที่ท้อง สะโพก และต้นขา คุณไม่ต้องหาหมอก็ได้ครับ เพราะการลดไขมันที่ท้อง สะโพก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    อาหารปลอดสารเคมีทางเลือกใหม่เพื่อสุขภาพที่ดีกว่าชนิดผลไม้จำนวนตัวอย่างที่วิเคราะห์พบสารเคมีเกินค่ากำหนด1.องุ่น21 ตัวอย่าง15 ตัวอย่าง2.ชมพู13 ตัวอย่าง1 ตัวอย่าง3.พุทรา13 ตัวอย่าง1 ตัวอย่าง“คะน้า” ติดอันดับผักสุดอันตรายกรมวิชาการเกษตร ชี้ผักคะน้าอันตราย เกษตรกรใช้สารฆ่าแมลงมากเป็นอันดับหนึ่ง ผู้บริโภคควรระวังแหล่งข่าวกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    เพกาผักพื้นบ้านจากป่าและสวนโบราณช่วงปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนมีโอกาสเดินทางไปเยี่ยมพื้นที่ซึ่งอยู่ห่างกันสองแห่งคือสุโขทัยและกาญจนบุรี แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันหลายประการในพื้นที่ทั้งสองแห่งนั้นก็ตาม แต่สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนได้พบและประทับใจในการเดินทางครั้งนี้คือต้นไม้ ซึ่งเป็นผักพื้นบ้านเก่าแก่ของไทยชนิดหนึ่งขึ้นอยู่ทั่วไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ปอเปี๊ยะทอดสวัสดีค่ะ ฉบับนี้ดิฉันขออนุญาตคุณนาตยาว่าขอแสดงฝีมือเอง เผอิญช่วงสงกรานต์มีโอกาสกลับบ้านที่ต่างจังหวัด แล้วคุณแม่ได้แสดงฝีมือทำปอเปี๊ยะทอดให้กิน เห็นว่าเข้าทีดี จึงนำมาฝากแฟนคอลัมน์เข้าครัวกันขั้นตอนที่สนุกที่สุดในการทำปอเปี๊ยะ เห็นจะเป็นการห่อไส้ แต่ละคนจะมะรุมมะตุ้มช่วยกันใหญ่พยายามห่อกันอย่างสุดฝีมือ ใครห่อไม่ดีก็อาจทำให้ไส้แตกได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    น้ำพริกกุ้งสดอาหารประจำฉบับนี้เพื่อผองพี่น้องชาวไทยที่ชอบกินน้ำพริก แต่ไม่ชอบกลิ่นกะปิ และเหมาะสำหรับเดือน เมษา-พฤษภาที่อากาศร้อนระอุ ทำให้เกิดอาการเบื่ออาหาร กินอันโน้นก็ไม่อร่อย อันนี้ก็เบื่อน้ำพริกกุ้งสดกับข้าวสวยร้อนๆ เคียงข้างด้วยผักต้ม น่าจะช่วยให้พวกเราเจริญอาหารได้อย่างดีนะคะ พอพูดถึงผักอยากจะขอเชิญชวนให้ชาวหมอชาวบ้านปลูกผักกินเอง ใครที่มีพื้นที่ข้างบ้านหลังบ้านอาจจะทำกินอยู่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    น้ำคือชีวิตขณะนี้หากดูจากรายงานปริมาณน้ำที่มีอยู่ในเขื่อนหลักๆ จะเห็นว่า จำนวนน้ำได้ลดลงทุกปี หลายคนคงรู้สึกหนาวทั้งๆ ที่อากาศร้อนอบอ้าว เราบอกได้ว่าขณะนี้ น้ำเปล่า (ใส่ขวด) แพงกว่าน้ำมัน และในอนาคต น้ำ1 แก้ว อาจมีค่ามากกว่าอาหาร1 มื้อของเรา น้ำในโลกนี้กว่าร้อยละ97 เป็นน้ำเค็มหรือน้ำทะเล ที่เหลือ คือ น้ำจืด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    อาหารจากมะละกอมะละกอ มะละกอ มะละกอ ในครัวของหมอชาวบ้านเดือนนี้เต็มไปด้วยมะละกอทั้งดิบและสุก ตอนแรกเราคุยกันว่าจะทำอาหารจากมะละกอหลายประเภท เพื่อขานรับการแนะนำมะละกอในคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าของคุณเดชา อาหารที่หลายๆ คนช่วยกันนึก (ด้วยความอยากกิน) คือส้มตำแกงส้มมะละกอแกงเหลืองมะละกอแกงป่ามะละกอแต่สุดท้ายทุกคนก็เห็นร่วมกันว่า อาหารเหล่านี้ชาวหมอชาวบ้านคงกินกันจนเบื่อแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    ไอศกรีมไอศกรีมเป็นอาหารสุดโปรดของเด็กและผู้ใหญ่ในเมืองร้อนอย่างเมืองไทยมานมนานแล้วแต่โบราณมาสัญญาณที่บอกให้ทราบว่ารถเข็นขายไอศกรีมมา ก็คือ เสียงกระดิ่ง กริ่ง หรือแตรลม ปัจจุบันนี้ก็วิวัฒนาการมาเป็นเสียงดนตรีที่เรียกร้องความสนใจทั้งเด็กและผู้ใหญ่ได้ไม่แพ้ของเดิม“ไอศกรีม” เป็นคำที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติให้ใช้ทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า ‘Ice cream’ ...