อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    แกงออมปลาดุกใบยอตามที่คุณเดชา ศิริภัทร เจ้าของคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าบอกไว้เมื่อ3-4 ครั้งที่แล้วว่าจะมีแกงใบยอมาฝาก ดิฉันคิดว่าชาวหมอชาวบ้านที่อ่านเรื่องราวเกี่ยวกับต้นยอบ้านจากคุณเดชาแล้วคงได้ไปเสาะหาต้นยอมาปลูกไว้ในบริเวณบ้านแล้ว แต่อาจจะยังโตไม่ทันให้ท่านนำใบอ่อนมาแกงในวันนี้ ก็คงต้องไปหาซื้อในตลาดหรือขอเพื่อนบ้านเอานะคะในส่วนเครื่องปรุงของน้ำพริกแกงนั้น ใช้สูตรเดียวกับน้ำพริกแกงแดง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    แพ้อาหารหลายๆ ครั้งความสำคัญในครอบครัวกลับมีอันต้องเปลี่ยนเป็นความชุลมุนวุ่นวายแทนเมื่อสมาชิกครอบครัวกลับมีอันต้องเปลี่ยนเป็นความชุลมุนวุ่นวายแทนเมื่อสมาชิกครอบครัวคนใดคนหนึ่งเกิดมีอันต้อง “แพ้อาหาร” ขึ้นมา แล้วอย่างนี้คุณๆ ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดจะทำอย่างไรกันดี‘แพ้อาหาร’ คืออย่างไรถ้าเมื่อใดที่เกิดการแพ้อาหารขึ้น คุณสามารถจะรู้สึกเกือบทันทีเลยว่าอาหารที่กินเข้าไปนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    อาหารเสริมสำหรับเด็กชนิดบรรจุขวดแม่บ้านทันสมัยที่มีสตางค์แต่ไม่มีเวลาหลายท่านพร่ำถามว่า อาหารเด็กที่บรรจุขวดที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาดขณะนี้มีคุณภาพดีไหม ดีกว่าอาหารสดไหม เพราะส่งจากนอก เด็กต้องกินวันละกี่ขวดถึงจะเพียงพอ เดือนนี้ก็เลยพาท่านผู้อ่านไปอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ชนิดนี้กัน หลังจากที่สำรวจในท้องตลาดแล้วพบว่า อาหารเสริมสำหรับเด็กชนิดนี้มี4 ประเภทในท้องตลาด คือ (1) ประเภทผลไม้บด (2) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    เจ เข้าสู่เทศกาลล้างกายและใจในช่วงราวเดือนตุลาคมของทุกๆ ปี ซึ่งปีนี้ตกประมาณกลางเดือน ถือเป็นวาระ “เทศกาลถือศีลเจ” หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “เทศกาลกินเจ” ได้เวียนมาเยือนอีกครั้ง ตามตึ้งหรือโรงเจของคนจีน ซึ่งมักอยู่ในย่าน “ไชน่าทาวน์” ก็เริ่มคลาคล่ำไปด้วยผู้คนทั้งจีนและไทย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    เต้าหู้แป๊ะซะหมอชาวบ้านครั้งนี้ต้อนรับเทศกาลกินเจด้วยการไปสืบสาวราวเรื่องเกี่ยวกับการกินเจมาเล่าให้ฟัง คอลัมน์ “เข้าครัว” ไม่อยากน้อยหน้า จึงหาอาหารเจมาฝากท่านผู้อ่านด้วย“เต้าหู้แป๊ะซะ” คือ อาหารจานเด็ดที่อยากให้ชาวหมอชาวบ้านลองเข้าครัวทำกันดู เริ่มต้นด้วยการเตรียมอุปกรณ์เครื่องปรุง ซึ่งประกอบด้วยเต้าหู้2 ก้อน ขิงหั่นฝอยพอประมาณ เห็ดฟาง1 ขีด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    น้ำอัดลมสวัสดีค่ะ อย่าเพิ่งแปลกใจว่าทำไมฉบับนี้จึงเป็นคะขา จ๊ะจ๋า เนื่องจากเจ้าประจำเขาพักร้อน ดิฉันจึงทำหน้าที่แทนไปก่อน ในวันที่อากาศร้อนแดดเปรี้ยงๆ จนตัวแทบไหม้เกรียมเนื่องจากไม่มีเค้าเมฆฝนเลยตั้งแต่เช้า เราไปล่องสายธารน้ำอัดลมให้ซาบซ่าชุ่มฉ่ำกันดีกว่าน้ำอัดลมหรือที่เรียกกันตามภาษาชาวบ้านว่า “น้ำขวด” นั้น เป็นที่รู้จักกันมานานแล้วทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    อาหารหน้าโรงเรียนหลังเลิกเรียนเป็นเวลาที่เด็กๆ มักจะหิวกันมาก เพราะตั้งแต่เช้าจรดเย็นพวกเขาต้องใช้ทั้งสมอง และพลังงานในการเรียน และการทำกิจกรรม พอเลิกเรียนก็ต้องเดินทางกลับบ้าน ซึ่งบางครั้งต้องใช้เวลานาน เด็กมักหิ้วท้องรอจนหว่าจะถึงบ้านไม่ไหว เด็กมักต้องหาอาหาร แถวหน้าโรงเรียนกินเพื่อระงับความหิวไปพลางก่อน ดังนั้น ไม่ว่าพ่อค้าแม่ขายจะเสนออะไรให้ลองชิมและมีรสชาติเป็นอย่างไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    การควบคุมอาหารอาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต อาหารถูกนำไปเผาผลาญเป็นพลังงาน ทำให้เซลล์ภายในร่างกายทำงานได้ สิ่งมีชีวิตจึงหายใจได้ เคลื่อนไหวได้ สืบพันธุ์ได้ บางประเทศในแอฟริกา การขาดแคลนอาหารเป็นปัญหาหนักจนต้องอาศัยความช่วยเหลือจากนานาประเทศเนื่องภาวะสงครามและความแห้งแล้ง แต่ในประเทศที่กำลังพัฒนาแล้ว อาหารการกินมีมากมาย โดยเฉพาะประเทศไทย มีข้าวเหลือเฟือ เนื่องจากส่งออกไม่ได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    เครื่องดื่มกับสุขภาพเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต จะมีความต้องการสารอาหารมากเป็นพิเศษ แต่ส่วนใหญ่เด็กในวัยนี้มักจะชอบกินขนมและดื่มน้ำอัดลมมากจนเกินไป โดยไม่กินอาหารอื่นประกอบ ทำให้เด็กหลายคนเกิดภาวะขาดสารอาหาร ทั้งที่ร่างกายดูอ้วนท้วมดีเครื่องดื่มประเภทน้ำอัดลมที่เด็กส่วนใหญ่นิยมดื่มกัน จะมีน้ำตาลเป็นส่วนผสมอยู่มาก และส่วนใหญ่จะมีกรด เช่น พวกโคลา รูซเบียร์ น้ำผลไม้โซดาต่างๆ และเครื่องดื่ม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    ขนมเหนียว“ขนมเหนียว” ที่นำมาให้ชิมในวันนี้เป็นขนมไทยที่มีตั้งแต่สมัยโบราณ แต่ก็ยังถูกปากคนไทยมาจนถึงทุกวันนี้ ในอดีตกว่าจะได้กิน “ขนมเหนียว” ต้องใช้เวลานานมาก เพราะต้องเริ่มตั้งแต่เอาข้าวเหนียวไปแช่ไว้เป็นหลายชั่วโมง แล้วนำมาโม่ให้ละเอียด จากนั้นก็ต้องคอยจนกว่าน้ำจะแห้ง ซึ่งเขาจะใช้วิธีเอาแป้งที่โม่แล้วใส่ถุงผ้าไว้ ปิดปากถุงให้แน่น แล้วหาวัตถุหนักๆ ...