บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    งูสวัดข้อน่ารู้1. งูสวัด เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีลักษณะพุขึ้นเป็นตุ่มน้ำใสเล็กๆ เรียงเป็นแนวยาวตามแนวเส้นประสาท เกิดจากการติดเชื้องูสวัดซึ่งเป็นไวรัสชนิดหนึ่ง มีชื่อว่า เชื้อเฮอร์ปีส์ ซอสเตอร์ (Herpes zoster) ซึ่งเป็นเชื้อชนิดเดียวกันกับไข้สุกใส (อีสุกอีใส) ติดต่อโดยการสัมผัสกับคนที่เป็นงูสวัดหรือไข้สุกใส2. งูสวัดกับไข้สุกใส ถือว่าเป็นโรคพี่โรคน้องที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัสตัวเดียวกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนจบ)15. อาการชักขณะหลับ อาจเกิดจากโรคต่างๆ เช่น15.1 โรคลมชักหรือลมบ้าหมู ผู้ป่วยโรคลมชักที่ชักทั้งตัวจะมีเกือบครึ่งหนึ่งที่ชอบชักในขณะหลับ และมีประมาณร้อยละ 10 ที่มีอาการชักเฉพาะเวลาหลับเท่านั้น ผู้ป่วยโรคลมชักจำนวนมากจะหลับไม่ปกติ โดยการหลับในระยะที่ 1 มักจะยาวขึ้น แต่การหลับในระยะที่ 3 และ 4 (การหลับสนิท) จะลดลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    เลี้ยงลูกพิการ“เอ... ทำไมเราไม่เคยนึกถึงคนพิการเลย”ดิฉันถามตัวเองเมื่อมีโอกาสร่วมทำสารคดีข่าวเรื่องคนพิการกับนักข่าวชาวญี่ปุ่น ดิฉันมั่นใจว่าคนไทยส่วนใหญ่ก็ไม่ได้คิดถึงคนพิการมากนัก นอกจากคนที่มีญาติพี่น้องเป็นคนพิการ หรือคนที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคนพิการโดยตรง คนพิการในสายตาของคนไทยโดยทั่วไป คือ คนตาบอดที่เดินเร่ขายลอตเตอรี่ หรือตั้งวงดนตรีเล่นอยู่ข้างถนน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    นิ้วลูก-ใจแม่เด็กชายอายุ 3 ขวบ ถูกแม่กัดนิ้วเกือบขาด! แม่ของเด็กเป็นโรคลมชัก เช้าวันเกิดเหตุประมาณตี 5 ในขณะที่พ่อแม่ลูกทั้ง 3 คนนอนหลับอยู่ แม่เกิดชักขึ้นมาโดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว และกัดนิ้วก้อยของลูกที่นอนอยู่เคียงข้างอย่างแรง กว่าพ่อจะงัดปากแม่ดึงนิ้วลูกออกมาได้ ลูกก็ถูกกัดเป็นแผลลึกรอบโคนนิ้วก้อยข้างซ้าย เด็กน้อยได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้าน โดยแพทย์ได้ทำแผลและฉีดยาปฏิชีวนะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    เด็กดาวน์ซินโดรมผู้ถาม กาญจนา/ราชบุรีตอนตั้งครรภ์ดิฉันก็มีอาการปกติดีทุกอย่าง แต่แพ้ท้อง กินอะไรไม่ได้ พอลูกอายุได้ 4 ขวบ ก็ส่งให้เรียนหนังสือ จึงทราบว่าลูกทำอะไรไม่ได้ดิฉันมีอาชีพรับราชการเป็นครูอยู่ที่โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี เพื่อนครูที่โรงเรียนเป็นสมาชิกหนังสือหมอชาวบ้าน ในหนังสือฉบับเดือนสิงหาคมลงเรื่อง “เด็กดาวน์ซินโดรม” ซึ่งมีอาการตรงกับลูกสาวของดิฉัน คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ต้มโคล้งปลาดุกย่างอาหารไทยรสจัดจ้านที่ไม่ควรพลาดเมื่อเอ่ยถึงต้มโคล้ง หลายคนโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่มักจะถามว่าคืออะไร กินไม่เป็น ซึ่งต่างจากต้มยำซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ดิฉันก็ยังหาคำตอบไม่ได้เหมือนกันว่า ทำไมต้มโคล้งจึงไม่ฮิตเท่าต้มยำทั้งๆที่รสชาติใกล้เคียงกัน และเครื่องปรุงก็คล้ายๆ กัน ที่ต่างกัน คือต้มโคล้งมักจะใช้ปลาย่าง หรือปลากรอบ ในขณะที่ต้มยำจะใช้ปลาสด หรือกุ้งสด ต้มโคล้งจะใช้มะขามเปียก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    น้ำมันพืชก่อนที่เราจะไปช็อปปิ้งกันวันนี้ ผมต้องขออนุญาตแก้ไขข้อมูลที่ได้ระบุไว้ในคอลัมน์นี้เมื่อ 3 เดือนที่แล้วให้ทันสมัยขึ้นอีก เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขได้แจ้งว่า หลักการกำหนดสถานภาพการเป็นโรงงานได้เปลี่ยนแปลงจากเดิมซึ่งระบุว่าเป็นสถานประกอบการที่มีเครื่องจักรกำลังสูงกว่า 2 แรงม้า เป็นเครื่องจักรที่มีกำลังสูงกว่า 5 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ต้นเหตุของการปวดหลังอาการปวดหลังเป็นความเจ็บปวดที่มีมาคู่กับมนุษย์ จนอาจกล่าวได้ว่า เมื่อเริ่มปรากฏมีมนุษย์เดินด้วยสองขาบนพื้นพิภพนี้ มนุษย์ก็รู้จักกับอาการปวดหลังแล้ว มนุษย์เคลื่อนที่ในลักษณะที่แตกต่างจากสัตว์สี่เท้าอื่นๆ และแตกต่างจากลิง ค่าง ชะนี ที่มีมือห้อยโหนไปมาบนต้นไม้มากกว่าเดินอยู่บน 2 ขา ผลที่ตามมา คือ มนุษย์สามารถใช้มือทั้งสองในการทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างสะดวกคล่องแคล่ว แต่ข้อเสียคือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    ยาอายุวัฒนะเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา มูลนิธิหมอชาวบ้านได้จัดประชุมสัมมนาร่วมกับนักจัดรายการวิทยุทั่วประเทศในหัวข้อเรื่อง “วิทยุ สื่อมวลชนเพื่อการสร้างสรรค์คุณภาพชีวิต” ณ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพมิชชั่น อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านอาหาร และยา การรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    พฤศจิกายนกับสิ่งแวดล้อมปรากฏว่าในเดือนพฤศจิกายนมีเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมหลายเรื่องทีเดียว เช่น การสัมมนาเรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ครั้งที่ 3 ที่เรียกว่า สิ่งแวดล้อม’35 ในวันที่ 31 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2535 ที่ศูนย์ประชุมสิริกิติ์ การประชุมใหญ่เรื่องสิ่งแวดล้อม 2 ครั้งแรก ที่เรียกว่า สิ่งแวดล้อม’35 และ สิ่งแวดล้อม’34 ...