โรคตามระบบ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    “ตาต้อ” เป็นกลุ่มของโรคตา “ต้อ” ที่มีลักษณะแตกต่างกัน ฉบับนี้ มาทำความรู้จัก “ตาต้อ” กันดีกว่า๑.โรคต้อของตามีกี่โรค และมีความแตกต่างกันอย่างไรตอบ คำว่าต้อเป็นคำทั่วไปหมายถึงตา ดังนั้น เมื่อบอกว่าเป็นโรคต้อ ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นโรคต้อชนิดใด ที่พบบ่อยๆ และควรทราบ เรียงลำดับตามความรุนแรงจากน้อยไปมาก ดังนี้๑.โรคต้อลม (Pinguecular)มีลักษณะเป็นเยื่อสีขาวหรือขาวเหลืองบริเวณตาขาวข้างๆ ตาดำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ปัจจุบันยาลดกรดในกระเพาะอาหารขายดีเป็นเทน้ำเทท่า ส่วนใหญ่มีการโฆษณากันอย่างแพร่หลาย พร้อมกันนั้นก็เกิดโรคกรดไหลย้อนแพร่ระบาดไปทั่ว แม้แต่ชาวบ้านที่ห่างไกลความเจริญก็พบว่ามีไม่น้อยที่ต้องกินยาลดกรดอย่างแรงเป็นประจำ เพราะแพทย์สั่งให้และบอกว่าเป็นโรคนี้ แต่พอให้ผู้ป่วยอธิบายว่าโรคกรดไหลย้อนคืออะไรและมีอาการอย่างไร ทำไมต้องกินยาแบบนี้ ตัวผู้ป่วยเองก็มักจะตอบไม่ได้โรคกรดไหลย้อน (GERD) คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 เมษายน 2554
    วันเวลาที่ผ่านล่วงเลยไป จากวัยเด็ก สู่วัยผู้ใหญ่ และผ่านเข้าสู่วัยสูงอายุ ดวงตาเป็นอวัยวะสำคัญที่ต้องได้รับการดูแล เพื่อให้สามารถมองโลกที่สดใสได้ตลอดไป การเปลี่ยนแปลงหรือความเสื่อมอาจเกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ ของตา ทำให้เกิดโรคทางตาในผู้สูงอายุ โรคทางตาที่ควรรู้จักเพื่อรักษาสุขภาพตาของผู้สูงอายุให้อยู่ได้นานที่สุด ดังนี้ ๑.โรคต้อกระจก โรคต้อกระจก (cataract) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    เมื่อกล่าวถึงโรคต้อหิน หลายคนมักเข้าใจว่าเป็นโรคที่รักษาไม่ได้ มีแต่ทรงกับทรุด และจะต้องตาบอดในที่สุด ความเข้าใจเหล่านี้อาจยังไม่ถูกต้องนัก โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันซึ่งมีการพัฒนาเทคโนโลยี และเครื่องมือที่ทันสมัยในการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคต้อหิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    โรคตาในเด็ก ปัญหาโรคตาเป็นปัญหาที่พบได้ทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก โดยปัญหาที่พบในผู้ป่วยแต่ละวัยมีความแตกต่างกัน การให้การดูแลสุขภาพตาในเด็กจึงมีความสำคัญ เพราะมีโรคตาหลายๆ โรคซึ่งหากได้รับการดูแลอย่างไม่ถูกต้อง อาจเกิดผลร้ายต่อเด็ก ครอบครัว ไปตลอดชีวิต ในทางกลับกัน หากได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม มักให้ผลการรักษาที่ดี และน่าชื่นใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    กระดูกเสื่อม กระดูกพรุน กระดูกอ่อนถ้าจะกล่าวถึงโรคที่เกี่ยวกับกระดูกแล้ว สิ่งที่พูดถึงกันมากคือ กระดูกเสื่อม กระดูกพรุน และกระดูกอ่อน ซึ่งอย่าเหมารวมว่าเป็นโรคเดียวกันหรือมีการรักษาแบบเดียวกัน แต่ละอย่างก็มีลักษณะและการรักษาที่แตกต่างกันไป แต่กลับถูกนำมาใช้เพื่อส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ประเภทเสริมกระดูกกันอย่างแพร่หลาย ปัจจุบันพบว่ามีการให้ข้อมูลและแนะนำให้กินแคลเซียม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มกราคม 2554
    สครับไทฟัส เป็นไทฟัส (ไข้รากสาดใหญ่) ชนิดหนึ่งซึ่งทำให้มีอาการไข้สูง อาจมีผื่นแดงและสะเก็ดแผลไหม้ เกิดจากการติดเชื้อชนิดหนึ่ง ซึ่งมีตัวไรแดง (อยู่ตามพุ่มไม้) เป็นพาหะนำโรค มักพบในกลุ่มชาวไร่ ชาวสวน นักล่าสัตว์ นักท่องป่า ทหาร นักวิทยาศาสตร์ และผู้ที่ออกไปตั้งค่ายในป่า หากไม่ได้รับการรักษา มักมีไข้นาน ๒-๓ สัปดาห์ บางรายอาจหายได้เอง แต่บางรายอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงได้ชื่อภาษาไทย : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    ยุคสมัยนี้ “การแพทย์ทางเลือก” หรือ alternative medicine มีบทบาทมากขึ้นการแพทย์ทางเลือกหมายถึงการรักษานอกเหนือไปจากการรักษาหลักที่ยอมรับกันทั่วไป อาจเริ่มมาจากความเชื่อ ปรัชญา การสังเกต และบางชนิดยังไม่ได้ผ่านการพิสูจน์ตามหลักวิทยาศาสตร์อย่างไรก็ตาม การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรใดๆ ที่นำมาใช้ เมื่อมีการพิสูจน์ว่าได้ผลจริงและปลอดภัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    วัยทำงาน เป็นช่วงเวลาที่มีความจำเป็นต้องใช้สายตามากกว่าช่วงเวลาอื่น ดังนั้นการดูแลถนอมดวงตาให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆ จึงเป็นสิ่งจำเป็นโรคตาที่พบได้บ่อยในวัยทำงานที่ควรรู้จัก ได้แก่ สายตาผิดปกติ ปัญหาจากการใช้คอมพิวเตอร์ ต้อลมและต้อเนื้อ อุบัติเหตุกับดวงตาสายตาผิดปกติสายตาผิดปกติ คือภาวะที่ทำให้ตามัว มีลักษณะคล้ายการถ่ายภาพไม่ชัดหรือภาพไม่โฟกัส อาจเป็นสายตาสั้น สายตายาว หรือสายตาเอียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    เริมเป็นโรคติดต่อที่พบได้บ่อย เกิดจากเชื้อไวรัสเริม (Herpes simplex virus, HSV) ลักษณะของเริมคือพบหย่อมตุ่มน้ำใสบนพื้นผิวหนังสีแดง ต่อมาตุ่มน้ำใสมักกลายเป็นตุ่มหนอง หรือแตกเป็นแผล ในที่สุดอาจมีสะเก็ดปกคลุม แม้ว่าการติดเชื้อเริมเกิดได้ทุกตำแหน่งของร่างกายส่วนใหญ่ (คือร้อยละ ๗๐-๙๐) ของการติดเชื้อไวรัสเริมชนิดที่ ๑ (HSV-1) เกิดในตำแหน่งที่สูงกว่าเอว และส่วนใหญ่ (คือร้อยละ ๗๐-๙๐) ...