พฤติกรรมอันตราย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 314 มิถุนายน 2548
    ตับโตผู้ถาม : สุพล/ตรังผมมีปัญหาของคุณพ่อจะขอเรียนถามคุณหมอ ดังนี้คุณพ่ออายุ ๔๒ ปี น้ำหนัก ๖๐ กิโลกรัม สูง ๑๖๕ เซนติเมตร เป็นคนดื่มเหล้า แต่ไม่สูบบุหรี่ อาการของคุณพ่อคือ จะมีอาการแน่นและตึงๆ บริเวณชายโครงเป็นบางครั้งแต่ไม่เจ็บ และได้ไปหาหมอที่คลินิก คุณหมอบอกว่าเป็นตับโต ควรเลิกดื่มเหล้า ผมจึงอยากทราบว่า-ตับโตเกิดขึ้นได้อย่างไร-สามารถรักษาให้หายได้หรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    ปัจจุบันประชากรโลกกำลังประสบปัญหาทางสุขภาพสำคัญเกี่ยวกับโรคในกลุ่มที่เรียกว่า โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (non-communicable chronic diseases) จากการวิเคราะห์สภาวะสุขภาพของประชากรโลก โดยประเมินจากดัชนีภาระโรค ทั้งในแง่การตายก่อนวัยอันควร และภาระของการเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ ของประเทศในการดูแลและรักษาโดยรวมแล้วพบว่า สาเหตุการเจ็บป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรโลก ยังคงเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    มีคำกล่าวที่ได้เคยกล่าวมาในช่วงแรกๆ ของบทความ คือประโยคที่ว่า "fitting the task to the man" การจัดงานให้เข้ากับคน หรือบางคนก็อาจพูดกลับกันเป็น "fitting the man to the task" การจัดคนให้เข้ากับงาน สองประโยคนี้มีการพูดถึงบ่อยในวงการการยศาสตร์ (ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดงาน สภาพงาน และสิ่งแวดล้อมของการทำงานให้เข้ากับผู้ที่ใช้งานเพื่อประโยชน์ของการลดการบาดเจ็บของการทำงาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    คุณอาจเป็นคนหนึ่งที่มีชีวิตประจำวันเคร่งเครียดวุ่นวายยุ่งเหยิง จนกระทั่งเวลากินอาหารก็กินอย่างเร่งรีบ บางครั้งก็กินไม่เป็นเวลา ที่แย่กว่านี้ก็ต้องอดอาหารบางมื้อหรือกว่าจะได้กินก็ล่วงเลยมื้ออาหารไปนาน หากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้บ่อยๆ โรคกระเพาะอาจถามหาได้ ซึ่งคงไม่มีใครอยากเป็นเช่นนี้ รู้จักโรคกระเพาะโรคกระเพาะมักมีอาการปวดแสบ ปวดตื้อ ปวดเสียดหรือจุกแน่น ตรงบริเวณใต้ลิ้นปี่ อาการปวดเหล่านี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    การบาดเจ็บจากการทำงานแบ่งได้เป็น ๒ แบบ คือ แบบเฉียบพลันและแบบค่อยเป็นค่อยไป๑. แบบเฉียบพลัน เช่น ยกวัตถุแล้วมีอาการบาดเจ็บของหลังทันที การบาดเจ็บแบบนี้ บอกได้ง่ายว่าเกิดจากการทำงานเพราะเกิดอาการทันทีในขณะที่ทำงาน ๒. แบบค่อยเป็นค่อยไป การบาดเจ็บแบบนี้ มักหาสาเหตุไม่ได้ คนทำงานจะบอกไม่ได้ว่าเกิดอาการขึ้นเมื่อใด อาการเจ็บป่วยเช่นนี้ทำให้มีปัญหามาก โดยเฉพาะการตัดสินว่าเกิดจากการทำงานหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 310 กุมภาพันธ์ 2548
    ผู้ใหญ่มักเตือนสติลูกหลานว่าอย่าชิงสุกก่อนห่าม นั่นคือ การสอนไม่ให้ทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัย หรือยังไม่ถึงเวลา ซึ่งมักสอนในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรแล้วเมื่อไหร่คือวัยอันสมควรและเหมาะสมเราท่านควรเข้าใจเรื่องความรัก ความใคร่ของหญิงชายกันก่อนดีไหมความรัก ความใคร่...ชายหญิงไม่เหมือนกันความรักและความใคร่มีความสัมพันธ์กัน เปรียบเสมือนวงกลม ๒ วงที่ซ้อนกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 310 กุมภาพันธ์ 2548
    ขณะนี้ พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยนั้นน่าห่วงมาก เป็นพฤติกรรมที่ขาดความรับผิดชอบ ขาดจิตสำนึกในสิ่งชั่วดี หมกมุ่นในสิ่งที่ชั่วร้ายทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นพนันบอล สื่อลามก เพศสัมพันธ์ เที่ยวเตร่กลางคืน ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยนอกจากนี้ มีสิ่งที่ไม่เหมาะสมรอบตัวเยาวชน อาทิ ลัทธิปัจเจกชนนิยม และสิทธิมนุษยชน อิทธิพลของสื่อ สิทธิมนุษยชน และปัจเจกชนนิยม คือความเป็นตัวของตัวเอง ทำให้หลายๆ คนต่อต้านการควบคุม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 310 กุมภาพันธ์ 2548
    ในสองฉบับที่ผ่านมาผมได้กล่าวถึงแสง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกับคอมพิวเตอร์โดยตรง อย่างไรก็ดีมีสภาพแวดล้อมอื่นๆ ที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการทำงานคอมพิวเตอร์และการทำงานประเภทอื่นๆ อีก เช่น ความร้อน เสียง การถ่ายเทอากาศ ความชื้น ความสั่นสะเทือน ความกดอากาศ เป็นต้น แต่ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเรื่องความร้อน ร่วมไปกับความชื้นและการถ่ายเทอากาศ และจบท้ายด้วยเรื่องของเสียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    เมื่อเดือนก่อนเดินทางไปโคราช วันแรกที่ไปถึงช่วงหัวค่ำ ได้เข้าพักโรงแรมแห่งหนึ่ง ขณะก้าวเดินลงบันไดไปที่โรงอาหาร มัวแต่พูดคุยกับ ผู้มาต้อนรับ ไม่ได้สังเกตดูขั้นบันไดที่ก้าวลง ก็ลื่นล้ม เพราะพื้นเป็นหินแกรนิตและขอบบันไดไม่ได้มีแถบกั้นกันลื่นเหมือนที่อื่น ก็ถลาไป ๔_๕ ขั้น ลงไปหยุดตรงขั้นบันไดกว้างที่เป็นชานพัก รู้สึกเจ็บปวดที่ข้อเท้าขวาทันที ถึงกับเดินกะเผลกอยู่พักใหญ่ หลังจากนั่งพักกินอาหาร แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    ความดันเลือดสูงเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนไทยโดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมืองเฉลี่ยแล้ว ทุกๆ ๕ คนจะมีผู้ที่เป็นโรคความ ดันเลือดสูง ๑ คน อายุยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นโรคความ ดันเลือดสูงมากขึ้นตาม ดังนั้น ผู้ที่อายุมากกว่า ๓๕ ปี ทุกคนควรได้รับการตรวจวัดความดันเลือดอย่างน้อยปีละครั้ง ถ้าความดันเลือดเฉลี่ยจากการวัดหลายๆ ครั้งในเวลา ๑-๒ สัปดาห์ เกินกว่า ๑๔๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท ก็ถือว่าเป็นโรคความ ...