พฤติกรรมอันตราย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    บานไม่รู้โรย : ความงามที่ยั่งยืนฝืนกาลเวลาเดือนเมษายนเวียนมาถึงอีกครั้งหนึ่งหมายถึงการมาของเทศกาลสำคัญ ยิ่งสำหรับชาวไทยด้วย นั่นคือ สงกรานต์ หรือปีใหม่ของชาวไทยแต่เดิมตามปฏิทินทางจันทรคติ ซึ่งจะเปลี่ยนจากปีมะเมียไปเป็นปีมะแมเมื่อผ่านวันเพ็ญเดือนห้าเมื่อตอนผู้เขียนยังเป็นเด็กอยู่ในชนบท จำได้ว่าสงกรานต์เป็นช่วงที่สนุกสนานที่สุดในรอบปี เพราะเป็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 288 เมษายน 2546
    พัชรา/กรุงเทพฯ : ผู้ถามหนูขอเรียนถามคุณหมอเกี่ยว กับสายตาดังนี้ค่ะ คือเวลาหนูทำรายงานหนูจะใช้คอมพิวเตอร์ (และบางครั้งก็จะเล่นเกมกับคอมพิวเตอร์ด้วย) และ เวลาใช้คอมพิวเตอร์แต่ละครั้ง ก็จะนั่งอยู่หน้าจอประมาณ ๒-๓ ชั่วโมง ซึ่งค่อนข้างบ่อยค่ะ และเคยทราบมาว่า ถ้านั่งจ้องอยู่หน้าคอมพิวเตอร์นานๆ จะทำให้สายตาเสีย ไม่ทราบว่าจริงหรือเปล่าคะ เพราะกลัวว่าโตขึ้นหนูจะต้องใส่แว่น (ไม่อยากใส่แว่นค่ะ) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 287 มีนาคม 2546
    ประสบการณ์จากการนอนโรงพยาบาลครั้งแรกในชีวิต : ป ว ด ห ลั งดิฉันเป็นพยาบาลวิชาชีพทำงานอยู่ในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งของจังหวัดลำพูน เมื่อประมาณกลางเดือนเมษายน ๒๕๔๕ ดิฉันเริ่มมีอาการปวดหลังโดยไม่ทราบสาเหตุ คิดว่าเกิดจากการที่ดิฉันกินยาแก้หวัดเมื่อตอนหัวค่ำ พอรุ่งเช้าอาการยังไม่ทุเลา จึงนอนพักขดตัวเป็นกุ้งอยู่ตลอด ทั้งวันบนโซฟารูปทรงกลม หลับสนิทมาก พอสะดุ้ง ตื่นเริ่มรู้สึกปวดเมื่อยบริเวณหลัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 287 มีนาคม 2546
    ในภาษาไทยของเรามีถ้อยคำสำนวนที่คนไทยคุ้นเคย และใช้กันมานานอยู่จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีกำเนิดมาจากความช่างสังเกตของคนไทยที่มีต่อต้นไม้ ดอกไม้ โดยหยิบ เอาลักษณะเด่น หรือความพิเศษออกมาเปรียบเทียบกับลักษณะของอย่างอื่นหรือของมนุษย์ บางครั้งคนไทยปัจจุบันไม่รู้จักหรือคุ้นเคยกับต้นไม้หรือดอกไม้นั้นแล้ว แต่ยังคงคุ้นเคยและเข้าใจความหมายของสำนวนที่มาจากต้นไม้หรือดอกไม้นั้นได้ดีอยู่เช่นเดิม ตัวอย่างเช่น สำนวน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 287 มีนาคม 2546
    รัชนี/ฉะเชิงเทรา : ผู้ถามดิฉันเป็นโรคปวดหลังเรื้อรังมาหลายปีแล้ว ได้ไปรักษาที่คลินิกแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ โดยการทำกายภาพบำบัดและทำอัลตราซาวนด์ไฟฟ้าจี้อยู่เดือนกว่าๆ อาการก็ดีขึ้น แต่ก็ยังไม่หายดีก็เลยเลิกรักษา ที่เลิกรักษาเพราะทนไฟฟ้าจี้ไม่ไหว ปวดมากค่ะ ก็เลยหยุด แล้วต่อมาดิฉันไปหาหมอที่โรงพยาบาลศิริราช ไปทำไคโรแพกติก อยู่ทั้งหมด ๑๘ ครั้ง อาการก็ทุเลาบ้างนิดหน่อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 286 กุมภาพันธ์ 2546
    เดือนกุมภาพันธ์สำหรับคนไทยยุคนี้ คงจะถือเป็นเดือนแห่งความรัก เพราะมีวันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งนักบุญวาเลนไทน์ (๑๔ กุมภาพันธ์) ซึ่งถือเป็นวันแห่งความรักอยู่ในเดือนนี้ ดูเหมือนคนไทยจะเฉลิมฉลองวันวาเลนไทน์กันจริงจัง และเอิกเกริกใหญ่โตยิ่งขึ้นทุกปี นับตั้งแต่มีผู้ริเริ่มให้ความสำคัญกับวันดังกล่าว ขึ้นเมื่อราวสิบกว่าปีมานี้การยอมรับวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนไทยนั้นไม่ใช่เรื่องแปลก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ยากลุ่มนี้ คือ" ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านจุลชีพ "ซึ่งใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งจะเรียกให้เข้าใจง่ายๆ คือ " ยาต้านแบคทีเรีย "สาเหตุของโรคติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน แบ่งเป็นหลายโรค คือ ไข้หวัด (common cold) จมูกอักเสบ (bacterial rhinitis) คอหอยอักเสบ (pharyngitis) ทอนซิลอักเสบ (tonsillitis) ฝีรอบทอนซิล (peritonsillar ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ...ในบรรดารสเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม รสหวานดูจะเป็นรสชาติที่ผู้คนติดใจกันมากที่สุด ตั้งแต่ลูกเล็กเด็กแดงไปจนกระทั่งผู้เฒ่าผู้แก่ ความหวานก็นับเป็นสุนทรียรสของชีวิตอย่างหนึ่ง ถ้าเราสามารถควบคุมการกินให้อยู่ในปริมาณที่พอดีได้แต่ในความเป็นจริง คนส่วนใหญ่มักหลง เพลิดเพลินกับความหวานนานารูปแบบ เกินความต้องการของร่างกาย จนเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคและปัญหาสุขภาพตามมามากมาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ในความหมายของแพทย์จีนมีศัพท์และความเข้าใจที่ไม่ตรงกันหลายเรื่องเวลาหมอจีนอธิบายโรคให้กับคนไข้ฟัง รู้สึกทะแม่งๆ แปลกๆ ดี ยิ่งถ้าคนไข้หรือแพทย์ ปัจจุบันที่ไม่เข้าใจความหมายอาจตีความหมาย ผิดๆ ทำให้ยิ่งไปกันใหญ่ เล่นให้คนไข้ปั่นป่วน ไม่น้อย ตัวอย่างเช่น- เลือดของหัวใจไม่พอ ทำให้ใจสั่น นอนไม่หลับ ฝันมาก ลืมง่าย ความคิดเชื่องช้า ไม่มีชีวิตชีวา- ไฟหัวใจร้อนสู่เบื้องบน ทำให้ปลายลิ้นแดงอักเสบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    กล้วยไม้ : ดอกฟ้าที่โน้มลงสู่ชาวดินกลิ่นกล้วยไม้ หอมระรื่น ชื่นดวงจิตดุจได้มิตร สนิทเนื้อ ...