พฤติกรรมอันตราย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    แบกเป็นกิจกรรมที่ทำกันอยู่ทุกวัน แบกในที่นี้มาจากคำภาษาอังกฤษว่า carrying ซึ่งรวมถึง การเคลื่อนย้ายวัตถุในแนวราบด้วยการเดิน ไม่ว่าจะเป็นการถือวัตถุด้วยมือ หรือแบกด้วยบ่า คอ ไหล่ การหาบ ทูนวัตถุด้วยศีรษะ เป็นต้น การแบกสามารถก่อให้เกิดอุบัติเหตุขณะทำงานและเป็นสาเหตุให้เกิดการบาดเจ็บสะสมได้ เช่นเดียวกับการยก การดึงและดันวัตถุ แต่ที่สำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    แม้พระจะให้ศีล "สุราเมระยะมัชชะปะมา..." วันละหลายหมื่นเที่ยว แต่การดื่มสุราในประเทศไทยกลับมียอดพุ่งสูงกว่าประเทศต่างๆ เป็นอันมากแม้ประเทศฝรั่งเศส การพูดถึงโทษภัยต่างๆ ของการดื่มสุรา เช่น ต่อสุขภาพของตัวเอง ต่อครอบครัว ต่อชุมชน ต่อสังคม ต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจรอย่างไรๆ การดื่มสุราก็ไม่ลดลงสสส. หรือ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิข้าพเจ้าขอสมาทานในสิกขาบท ตั้งใจที่จะงดเว้นจากการประทุษร้าย สติสัมปฤดี โดยการดื่มสุราและเสพของมึนเมาทุกชนิด อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทนี่คือคำสมาทานศีลข้อที่ ๕ ที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกยึดถือปฏิบัติพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมายของคำว่า สุรา เหล้าและแอลกอฮอล์ ดังนี้สุรา : เหล้า หรือน้ำเมาที่ได้จากการกลั่นเหล้า : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งที่ทำงาน โรงเรียน และบ้าน ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ในการใช้คอมพิวเตอร์ จะคำนึงถึงขนาดของโต๊ะ เก้าอี้ และการจัดวาง คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากขนาดและการจัดวางที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่ส่งผลทำให้เกิดอาการปวด ตึง และการลดลงของประสิทธิภาพของการทำงาน แต่ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่สำคัญอีก และต้องจัดให้เหมาะสม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 306 ตุลาคม 2547
    สัดส่วนของโต๊ะทำงานกับการจัดวางของบนโต๊ะทำงานนอกจากการจัดจอคอมพิวเตอร์ แป้นพิมพ์ และเมาส์ให้พอเหมาะพอดีแล้ว พบว่าบนโต๊ะทำงาน ยังมีอุปกรณ์อีกจำนวนหนึ่งที่วางอยู่บนโต๊ะ ทั้งที่จำเป็นและไม่จำเป็น มีทั้งใช้บ่อยและนานๆ ครั้งจะถูกนำมาใช้ และมีทั้งน้ำหนักมากและน้อย จึงต้องจัดวางอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านั้นให้เหมาะสม มิเช่นนั้นอาจทำให้การทำงานของเราผิดพลาด หรือไม่สะดวก ไม่เต็มประสิทธิภาพ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 305 กันยายน 2547
    คุณภาพของยาจากแหล่งผลิตต่างกันถาม? ระหว่างยาที่ผลิตจากต่างประเทศกับยาที่ผลิตในไทย ควรเลือกซื้อยาอย่างไหนดีคำถามนี้เป็นอีกคำถามหนึ่งที่มีผู้รับบริการซักถามกันมาบ่อยๆ ว่า ระหว่างยาที่ผลิตจากต่างประเทศกับยาที่ผลิตในประเทศ หรือระหว่างยาต้นตำรับ (original drugs) กับยาสามัญ (generic drugs) ยาชนิดใดจะดีกว่ากัน ก่อนอื่นขอขยายความสักเล็กน้อยว่า ยาต้นตำรับ (original drugs) หมายถึง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 305 กันยายน 2547
    ทำงานอย่างไรจึงไม่ล้าเป็นอาการอย่างหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นได้บ่อยในเวลาทำงาน เกิดขึ้นได้ทั้งงานที่ต้องใช้แรงงานหนักเช่น งานยกของ งานดึงและดัน และงานเบาที่ต้องอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ หรือต้องทำงานเบานั้นซ้ำซาก ยกตัวอย่างเช่น การนั่งทำงานคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานเกิน 2 ชั่วโมงต่อเนื่องขึ้นไปอาจทำให้เกิดการล้าขึ้นได้ที่กล้ามเนื้อคอบ่า หลัง ข้อศอกและมือ ซึ่งอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อและข้อต่อได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 305 กันยายน 2547
    กาหลง : มิใช่หลงเฉพาะเพียงกาต้นไม้พื้นบ้านของไทยบางชนิด เป็นที่รู้จักคุ้นเคยในหมู่คนไทยมายาวนานหลายร้อยปีแต่ปัจจุบันกลับรู้จักกันน้อยมากตรงข้ามกับต้นไม้บางชนิดที่มาจากต่างแดน เมื่อไม่นานมานี้เอง แต่กลับเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง ต้นไม้บางชนิดพบขึ้นอยู่เองตามธรรมชาติเป็นบริเวณกว้างขวางหลายประเทศแต่บางชนิดก็เป็นเพียงต้นไม้เฉพาะถิ่นที่พบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติเพียงบางพื้นที่เท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 301- พฤษภาคม 2547
    เด็กกับอุบัติเหตุจราจรอุบัติเหตุจราจรปัญหาใหญ่ของเด็กไทยผศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์การเดินทางสัญจรเป็นวิถีชีวิตของคนในปัจจุบันทุกประเทศ นักวิทยาศาสตร์ผู้คิดค้นยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์คนแรกคงไม่ได้คิดว่าสักวันหนึ่งสิ่งประดิษฐ์ของเขาจะคร่าชีวิตคนจำนวนไม่ถ้วน กลายเป็นสาเหตุนำการตายของคนทุกเพศวัย ไม่ยกเว้นแม้แต่เด็ก จากการศึกษาการตายของเด็กไทย ในเวลา4 ปี คือ ปี 2542-2545 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ดึงและดันอย่างไรจึงปลอดภัยผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะการเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยการดึงและดันมีความจำเป็นมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีการใช้อุปกรณ์ช่วย ในการทำงานมากขึ้นแทนการแบกหรือหามด้วยแรงคน เช่น การดึงหรือดันรถเข็นของ การดึงและดันระหว่างการทำงานอาจทำให้เกิดบาดเจ็บได้ เช่น ปวดหลัง หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน ปวดกล้ามเนื้อแขนและลำตัว หรือการบาดเจ็บจากการลื่นล้ม ...