การรักษาเบื้องต้น

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ฮ่องกงฟุตข้อน่ารู้1.ฮ่องกงฟุต หมายถึง อาการแผลเปื่อยที่ง่ามนิ้วเท้า คนทั่วไปเข้าใจว่าเกิดจากการย่ำน้ำ (เน่า) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าฝนที่มีน้ำท่วมขัง บางครั้งก็เรียกกันว่า “น้ำกัดเท้า”ชื่อนี้มีความเป็นมาอย่างไร ก็คงจะคาดเดาได้ แต่ก็มีการพูดกันต่อ ๆ กันมาในหมู่คนไทยจนเป็นที่เข้าใจกันดังความหมายข้างต้น2. แผลเปื่อยที่ง่ามเท้า มีสาเหตุที่พบได้บ่อย 2 โรค ได้แก่ (ก) โรคเชื้อรา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ผ่าตัดซีสต์ดิฉันไปผ่าตัดซีสต์และวันที่ไปตัดไหมพบก้อนซีสต์ขึ้นอีก จำเป็นต้องผ่าตัดอีกครั้งหรือไม่ ถ้าทิ้งไว้จะเป็นอันตรายหรือไม่ผู้ถาม วิชชุดา/นครศรีธรรมราชผู้ตอบ นพ.กริช โพธิสุวรรณดิฉันเป็นไฟโบซีสต์ (fibrocyst) ที่เต้านม หมอผ่าเอาออกหมดแล้ว แผลกว้างประมาณ 6 เซนติเมตร แต่หลังจากผ่าตัดได้ 7วัน ไปตัดไหมพบว่ามีก้อนซีสต์เท่าเดิม กดเจ็บกว่าเดิมแต่ไม่เป็นไข้ ตอนนี้เจ็บน้อยลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 4)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปในผู้ป่วยที่เกิดอาการวูบรายนี้ สาเหตุเกิดจาก 4 ประการด้วยกัน คือ1. อดนอน นอนดึก2. เพิ่มยาลดความดันเลือด3. การงดอาหารเช้า4. อากาศที่อับ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    ความดันเลือดสูงข้อน่ารู้1.หัวใจของคนเราทำหน้าที่สูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดทั่วร่างกาย ทำให้เกิดแรงดันขึ้นภายในหลอดเลือดแดง ซึ่งสามารถใช้เครื่องวัดความดัน ทำการตรวจวัดไม่ได้ โดยนิยมวัดที่บริเวณต้นแขน และมีหน่วยของค่าความดันเป็น “มิลลิเมตรปรอท”ความดันเลือดมีค่าที่วัดได้ 2 ค่า ได้แก่ ความดันช่วงบน(หรือความดันซิสโตลี) ซึ่งเป็นค่าความดันเลือดที่วัดได้ขณะหัวใจบีบตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    วูบ (ตอนที่ 3)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคน ดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 2 : เป็นอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่ง ขณะกำลังยืนสอนนักเรียนแพทย์และแพทย์ประจำบ้านอยู่ข้างเตียงคนไข้ ก็เกิดอาการ “วูบ” ล้มลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    เสียงพูดผิดปกติเสียงพูดผิดปกติ หมายถึง น้ำเสียงของเสียงพูดนั้นผิดไปจากปกติที่เคยเป็น ทำให้ผู้ฟังรู้สึกไม่คุ้นหู อาการเสียงพูดผิดปกติ เช่น เสียงแหบ เสียงแห้ง เสียงขึ้นจมูก เสียงอู้อี้ เสียงสูงไปหรือต่ำไป เสียงหลง เสียงราบเรียบ เสียงดังไปหรือเสียงค่อยไป เสียงห้าว เสียงหอบ เสียงสั่น หรือการที่พูดแล้วไม่มีเสียง เหล่านี้เป็นต้นอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา ผู้ป่วยบางรายอาจจะไม่รู้ตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    ไข้รูมาติก ข้อน่ารู้1.ไข้รูมาติก เป็นชื่อโรคชนิดหนึ่ง ที่แปลมาจากคำภาษาอังกฤษว่า rheumatic fever เป็นโรคที่มีมาแต่ดั้งเดิม หากแต่ไม่มีชื่อเรียกแบบไทย ๆ จึงจำต้องคล้อยตามชื่อสากล เฉกเช่นชื่อโรคอื่น ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 2)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสนจนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่ายเข้าใจง่ายเพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ในคนไข้รายแรกนี้จึงเป็นอาการวูบที่เกิดจาก “ภาวะความดันเลือดตกเมื่อเปลี่ยนท่า"(orthos-tatic hypotension) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    7คำถาม น่ารู้กับอีโบล่า1. ที่มาของเชื้ออีโบล่าเชื้ออีโบล่าเป็นเชื้อไข้เลือดออกที่พบในทวีปแอฟริกา รู้จักเมื่อมีการระบาดครั้งแรกที่ประเทศซาอีร์ และซูดาน เมื่อปี พ.ศ.2519 สามารถแยกเชื้อและศึกษารายละเอียดได้ พบว่าเชื้อที่แยกได้ที่ประเทศซูดาน ทำให้เกิดโรคระบาดที่มีอัตราตายต่ำกว่าเชื้อที่ระบาดในประเทศซาอีร์เชื้อที่มีลักษณะคุณสมบัติคล้ายเชื้ออีโบล่าจัดอยู่ในสกุลไฟโลไวรัสนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 1)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่า เป็นคำกริยา แปลว่า “ลูกโพลงแล้วดับไปทันที ...