-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
241
พฤษภาคม 2542
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่หมดหวัง (ตอนที่ ๖)รายที่ ๕ : ชายไทยอายุ ๔๐ ปี เป็นแพทย์ประกอบอาชีพอิสระ มาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการเจ็บแน่นอกและเหนื่อยมา ๑ ชั่วโมง ญาติซึ่งเป็นแพทย์ให้ประวัติว่า ผู้ป่วยเป็นโรคหัวใจขาดเลือด รักษาอยู่ที่โรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่งมาหลายปี แต่ครั้งนี้ญาติให้มาที่โรงพยาบาลนี้ เพราะญาติทำงานอยู่ที่นี่จะได้ช่วยดูแล และเห็นว่ารักษาที่เก่ามาหลาย ปีแล้วไม่ดีขึ้นญาติ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
การลดไขมันหญิงสาวหน้าตาสวย รูปร่างอ้วน อายุประมาณ ๓๐ เศษ ก้าวเดินฉับๆเข้าไปในร้านหมอหญิง : “ดิฉันต้องการมาลดไขมันค่ะ”หมอ : “ไขมันที่ไหนครับ”หญิง : “อ้าว...หมอไม่รู้เหรอว่าเขาลดไขมันที่ไหน ก็ลดไขมันที่ท้อง สะโพก ต้นขา นี่แหละค่ะ สำคัญกว่าที่อื่น”หมอ : “ครับ ถ้าคุณจะลดไขมันที่ท้อง สะโพก และต้นขา คุณไม่ต้องหาหมอก็ได้ครับ เพราะการลดไขมันที่ท้อง สะโพก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
126
ตุลาคม 2532
ยาลดไขมันจากการศึกษาผลต่อร่างกาย ปรากฏว่า การได้รับยาในปริมาณสูงจะทำให้ผู้ชายมีลักษณะคล้ายผู้หญิง และทำให้ผู้หญิงมีลักษณะคล้ายผู้ชายแม้ผู้เชี่ยวชาญส่วนมากจะเห็นพ้องต้องกันว่า การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินอาหาร เป็นหลักสำคัญของการควบคุมน้ำหนักในระยะยาว แต่มีนักวิจัยกลุ่มหนึ่งได้พยายามค้นคว้าหายาที่สามารถนำมาใช้ในการลดน้ำหนัก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
122
มิถุนายน 2532
ไขมันอุดตันหลอดเลือดหัวใจในปี พ.ศ.2530 คนอเมริกันเกิดอาการของโรคหัวใจขาดเลือด 1 ล้าน 5 แสนคน และมีคนอเมริกันตายเพราะโรคนี้จำนวน 550,000 คน ด้วยเหตุนี้เองโรคหัวใจขาดเลือดจึงถือเป็นต้นเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่สำคัญประการหนึ่งของสังคมอเมริกันอย่างไรก็ดี มีคนอเมริกันบางกลุ่ม เช่น ชาวคริสต์นิกายมอร์มอน ชาวคริสต์นิการเซเว่นเดย์แอดเวนติส เป็นต้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
121
พฤษภาคม 2532
โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันพอพูดถึงหลอดเลือด หลายคนคงคิดถึงหลอดเลือดที่มีมากมายของร่างกาย เมื่ออุดตันไปบ้างก็คงไม่ใช่เรื่องใหญ่โต คงไม่ถึงตาย ครับ...ถ้าเป็นหลอดเลือดทั่วๆไปคงไม่เป็นไร แต่ที่เป็นไร เพราะเป็นหลอดเลือดที่หัวใจ ก่อนที่จะว่ากันต่อไปถึงหลอดเลือดที่หัวใจ เราคงมาทำความเข้าใจกันถึงหัวใจสักนิดดีไหมครับว่าทำไมหัวใจสำคัญนัก ใครๆ ก็รู้ดีว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
113
กันยายน 2531
ปัจจุบัน ปัญหาภาวะโภชนาการเกินมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคโคเลสเตอรอลสูงในเลือด เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับโคเลสเตอรอล เพราะประชาชนมักจะเข้าใจกันว่าคนอ้วนเท่านั้นที่มีโคเลสเตอรอลสูงกว่าคนผอม แต่จริง ๆ แล้วไม่ใช่อย่างที่เข้าใจกันคอลัมน์ “เรื่องน่ารู้” ฉบับนี้ หมอชาวบ้านได้สัมภาษณ์ศาสตราจารย์นายแพทย์วิชัย ตันไพจิตร ผู้อำนวยการศูนย์วิจัย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
104
ธันวาคม 2530
การติดเชื้อไวรัสที่บริเวณผนังหลอดเลือด เป็นสาเหตุให้มีการสะสมของโคเลสเตอรอลเพิ่มมากขึ้น โดยที่ไวรัสจะชักนำโคเลสเตอรอลเอสเทอร์* และไตรกลีเซอไรด์* สะสมในหลอดเลือด ทำให้เอนไซม์ที่จะย่อยโคเลสเตอรอลมีประสิทธิภาพลดลงนายแพทย์เดวิด เฮจจาร์และคณะจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ได้เสนอรายงานผลการวิจัยของเขาในที่ประชุมประจำปีของสมาคมโรคหัวใจ ณ ดัลลัส ประจำปี 2529 ...