บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ถาม : ปภาดา/นนทบุรีอยากพาพ่อกับแม่ไปตรวจสุขภาพค่ะ ไม่ทราบว่าสำหรับผู้สูงอายุควรตรวจอะไรบ้างคะตอบ : นพ.สมบูรณ์ อินทลาภาพรการตรวจสุขภาพจะเป็นการตรวจหาความผิดปกติของโรคในกลุ่มผู้สูงอายุโดยการซักประวัติตรวจร่างกายทั่วไป ตรวจระบบประสาทสัมผัสประกอบกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หากพบความเจ็บป่วยตั้งแต่ระยะเริ่มแรก จะสามาถป้องกันและรักษาก่อนที่โรคจะลุกลามมากขึ้นส่วนใหญ่ผู้สูงอายุจะมีปัญหาด้านสายตา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ถาม : สุดารัตน์/กรุงเทพฯดิฉันเป็นพนักงานออฟฟิศ มีโอกาสได้ฝึกโยคะบ้าง แต่ด้วยเวลาที่จำกัดจึงไม่มีโอกาสได้ฝึกเท่าใดนัก จึงอยากทราบวิธีการฝึกโยคะง่ายๆ ในเวลาจำกัดแต่ได้ผลดีต่อร่างกายค่ะตอบ : นพ.ประดิษฐ์ ประทีปวณิชโยคะสำหรับคนทำงานออฟฟิศ ที่ปัจจุบันนิยมเรียกกันว่า ออฟฟิสโยคะ เป็นการนำโยคะมาประยุกต์ใช้เพื่อการแก้ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยของคนทำงานในออฟฟิศ ที่รู้จักกันได้ในชื่อ ออฟฟิศซินโดรม (Office ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ชื่อวิทยาศาสตร์ Centella asiatica (L.)ชื่อวงศ์ APIACEAEชื่ออื่นๆ บัวบก กะโต่ ผักแว่น ผักหนอกลักษณะทั่วไป พืชล้มลุกขนาดเล็ก อายุหลายปีเลื้อยตามดิน มีไหลเป็นปมเจริญขึ้นเป็นต้นใหม่ได้ ลำต้นยาวถึง ๒.๕ เมตร ใบเดี่ยวเป็นกระจกจากไหล แผ่นใบรูปโล่ เกือบกลม ขอบเป็นคลื่น ดอกเป็นช่อสีเขียว ผลค่อนข้างกลมการขยายพันธุ์ ใช้เมล็ดและไหลบัวบก บำรุงสมอง ป้องกันความชราบัวบก หรือผักหนอก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    เด็กต้องการการเลี้ยงดูและการดูแลจากพ่อแม่จนกระทั่งเติบโตและสามารถพึ่งพาตนเองได้ หากพ่อแม่ไม่ดูแลเด็ก คงเป็นเรื่องยากที่เด็กจะอยู่รอดปลอดภัยและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ได้ พ่อแม่ไม่ควรขู่ว่าจะทอดทิ้งเด็ก ไม่ว่าจะพูดทีเล่นทีจริงหรือพูดด้วยอารมณ์โกรธการที่เด็กทำตัวเป็นเด็กดี ไม่ใช่เพราะว่าเด็กชอบเป็นเด็กดี แต่เด็กต้องการจะดีพอที่พ่อแม่จะรักและเลี้ยงดู ดังนั้น เป้าหมายหลักอยู่ที่ตัวเด็กเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    (Systematic review: impact of constipation on quality of life in adults and children. Belsey J. Aliment Pharmacol Ther 2010, 31:938–949) ท้องผูกเป็นภาวะที่พบบ่อย ประมาณร้อยละ ๑๕-๒๐ ของคนทั่วไปมักจะมีปัญหาท้องผูกเรื้อรัง ซึ่งส่งผลรบกวนชีวิตประจำวัน บางคนหงุดหงิดไม่สบายใจ บางคนแน่นท้อง ไม่สบายท้อง บางคนถึงกับนอนไม่หลับ กระสับกระส่าย สมาธิการทำงานเสียไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    อาหารเป็นพิษ ในที่นี้หมายถึง อาการท้องเดิน (อุจจาระร่วง) เนื่องจากการกินอาหารที่มีสารพิษที่เกิดจากเชื้อโรคปนเปื้อน เป็นสาเหตุของอาการท้องเดินที่พบได้บ่อยในหมู่คนทั่วไปส่วนใหญ่มักจะมีอาการไม่รุนแรง และทุเลาได้เองภายใน ๒๔-๔๘ ชั่วโมง สามารถให้การดูแลรักษาอย่างง่ายๆ ด้วยการทดแทนน้ำและเกลือแร่ด้วยสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ส่วนน้อยที่อาจรุนแรง จนต้องให้น้ำเกลือที่โรงพยาบาลอย่างไรก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    อาหารเป็นพิษ ในที่นี้หมายถึง อาการท้องเดิน (อุจจาระร่วง) เนื่องจากการกินอาหารที่มีสารพิษที่เกิดจากเชื้อโรคปนเปื้อน เป็นสาเหตุของอาการท้องเดินที่พบได้บ่อยในหมู่คนทั่วไปส่วนใหญ่มักจะมีอาการไม่รุนแรง และทุเลาได้เองภายใน ๒๔-๔๘ ชั่วโมง สามารถให้การดูแลรักษาอย่างง่ายๆ ด้วยการทดแทนน้ำและเกลือแร่ด้วยสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ส่วนน้อยที่อาจรุนแรง จนต้องให้น้ำเกลือที่โรงพยาบาลอย่างไรก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    ปัญหาการแทรกแซงของอุตสาหกรรมยาสูบ ในการกำหนดนโยบายและมาตรการควบคุมยาสูบของภาครัฐในหลายประเทศ มีสถานการณ์ที่ค่อนข้างรุนแรง โดยเฉพาะรัฐบาลของประเทศที่ให้ความสำคัญกับการควบคุมยาสูบน้อย หรือประเทศที่ภาคประชาสังคมขาดความเข้มแข็งเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ค.ศ.๒๐๐๘ ที่ประชุมภาคี FCTC เห็นชอบต่อแนวทางปฏิบัติตาม มาตรา ๕.๓ แห่ง FCTC เพื่อป้องกันมิให้นโยบายควบคุมยาสูบถูกผู้ประกอบการในธุรกิจยาสูบเข้าแทรกแซง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    ต้อกระจกคือโรคที่เกิดการเสื่อมหรือขุ่นของเลนส์ตามนุษย์ โดยมนุษย์ทุกคนต้องมีการเกิดต้อกระจกในที่สุด เพราะเป็นการเสื่อมตามธรรมชาติ อาจเร็วหรือช้า เช่น เด็กบางคนอาจเป็นโรคต้อกระจกมาแต่กำเนิดโดยทั่วไปมักเริ่มมีอาการของโรคต้อกระจก คือมองเห็นภาพเป็นหมอกหรือควันบัง หลังอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป แต่อาจเป็นเร็วขึ้นกรณีมีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่มีโอกาสได้พบผู้ป่วยและได้ตรวจรักษาทั้งชาวกรุงและชาวบ้านในชนบท โดยมีงานประจำที่โรงพยาบาลเอกชนชื่อดังแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ทำอยู่ ๔ วันต่อสัปดาห์ ส่วนช่วงวันหยุดอีก ๓ วันนั้น ก็มีโอกาสได้ไปตรวจรักษาผู้ป่วยชนบทที่ต่างจังหวัด เรียกว่าทุกสัปดาห์ได้สัมผัสความเหมือนและความแตกต่างของผู้ป่วยทั้ง ๒ กลุ่มนี้เป็นเรื่องแปลกแต่จริงที่พบว่าผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ ...