ดูแลสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ อัมพาต หืด ถุงลมปอดโป่งพอง ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง โรคเลือด โรคความจำเสื่อม โรคจิต ควรปฏิบัติดังนี้ผู้ป่วยที่นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้ ผู้ป่วยที่ต้องล้างไตทางเลือดหรือทางช่องท้อง ต้องให้เลือดหรือฉีดยารักษา (เช่น เคมีบำบัด) บ่อย หรือต้องไปพบแพทย์บ่อย (ทุก ๑-๒ สัปดาห์) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ปีนี้เป็นปีหนึ่งในรอบหลายปีที่มีอุทกภัยครั้งใหญ่เป็นประวัติการณ์มากกว่า ๓๐ จังหวัด สร้างความเสียหายทำลายทั้งชีวิตและทรัพย์สินของปวงชนชาวไทยมหาศาลบางคนก็บอกว่า น้ำท่วมปีนี้มามาก (จำนวนน้ำที่มา) และมาเร็วกว่าทุกปี ครอบคลุมพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาล เริ่มตั้งแต่ภาคเหนือ ที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนองหลายต่อหลายลูก ทำให้เกิดปริมาณน้ำมวลใหญ่ไหลท่วมบ่าลงมาเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นพิษณุโลก พิจิตร จนมาถึงภาคกลางได้แก่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    สมัยนี้วิทยาการทางการแพทย์ก้าวหน้าไปไกลมาก บริษัทยาก็เกิดขึ้นมากมายผลิตยาขึ้นมาแข่งกัน แพทย์รุ่นใหม่ส่วนใหญ่ใช้ยากันมากเกินความจำเป็น เมื่อกล่าวเช่นนี้อาจมีทั้งคนที่คัดค้านและคนที่เห็นด้วยอยู่จำนวนไม่น้อย แต่ในทรรศนะของผู้เขียนที่เป็นแพทย์อาวุโสเกษียณแล้วคนหนึ่งซึ่งผ่านยุคสมัยต่างๆ มานาน ก็พอที่จะบอกได้ว่ามันเป็นเช่นนั้นจริงๆเมื่อครั้งอดีตที่ผู้เขียนเริ่มทำงานเป็นแพทย์ใหม่ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า โรคที่เกิดจากน้ำท่วมที่พบบ่อยที่สุดคือโรคผิวหนัง โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ โรคผิวหนังที่พบได้บ่อยในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำท่วมโรคผิวหนังที่พบบ่อยในช่วงน้ำท่วมและหลังน้ำท่วมคือโรคน้ำกัดเท้าและโรคเชื้อราที่เท้าภาพที่ ๑ น้ำกัดเท้าและเชื้อราที่เท้าโรคน้ำกัดเท้าในช่วงแรกเกิดเพราะเท้าที่แช่น้ำนานๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ข้อแพลงมักเกิดจากการได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น เดินข้อพลิก ข้อบิด หรือสะดุด หกล้ม เป็นภาวะที่ไม่มีอันตรายร้ายแรง สามารถให้การดูแลรักษาด้วยตนเอง ซึ่งมักจะหายได้เองภายใน ๓-๔ สัปดาห์อย่างไรก็ตาม ถ้าดูแล ๒-๓ วันแล้วไม่ทุเลา หรือมีอาการปวดรุนแรง หรือสงสัยเกิดจากสาเหตุอื่น ก็ควรรีบไปปรึกษาหมอที่อยู่ใกล้บ้านชื่อภาษาไทย ข้อแพลง ข้อเคล็ดชื่อภาษาอังกฤษ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    พักนี้น้ำท่วมคงต้องช่วยกันบรรจุ แบก ผูก ถุงทราย หลายวันก่อนผู้เขียนไปช่วยบรรจุและยกถุงทราย ปวดไหล่ หลัง ขา ไป ๓-๔ วัน เห็นว่าน่าจะมีอะไรที่นักกายภาพบำบัดอย่างผู้เขียนพอที่จะช่วยแนะนำอะไรเล็กๆ น้อยได้บ้าง ยามที่ใครๆ ต้องช่วยกันทำกระสอบทรายกันมากมายในตอนนี้หลากหลายวิธียกกระสอบทรายถ้าจะยกกระสอบทรายต้องประมาณน้ำหนักก่อนว่ายกไหวไหม ถ้าไม่ไหวต้องให้คนช่วย ช่วงยกถ้ามีการบิดตัวพยายามอย่าให้บิดมาก เช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    การรักษาโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันผิดปกติ ด้วยการกินยาควบคุมอย่างเดียว เป็นการแก้ปลายเหตุ นอกจากจะต้องกินยาไปตลอดชีวิตแล้ว ผลเสียของการกินยาระยะยาวอาจเกิดตามมา เพราะยาทุกชนิดมีผลข้างเคียง ทั้งที่รู้ และไม่รู้ยาลดไขมัน กลุ่มสแตติน เพิ่มโอกาสเป็นเบาหวาน(Statins and risk of incident diabetes: a collaborative meta-analysis of randomised statin trials. Sattar N. Lancet ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    วิตามินเป็นสารอาหารที่มีความจำเป็นต่อชีวิต แต่ต้องการปริมาณน้อยเป็นมิลลิกรัมหรือไมโครกรัมต่อวัน ร่างกายจะนำวิตามินแต่ละชนิดไปสร้างสารช่วยเร่งปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในร่างกายปกติแล้วสิ่งมีชีวิตสามารถสังเคราะห์วิตามินบางชนิดได้อย่างเพียงพอ ขณะที่บางชนิดก็จำเป็นต้องได้รับจากอาหาร คนและสัตว์ต้องการวิตามินอย่างน้อย ๑๓ ชนิดจากอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและการทำงานที่ปกติเราจำแนกวิตามินออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 391 พฤศจิกายน 2554
    ในฐานะนักกายภาพบำบัด ผู้เขียนต้องรักษาผู้ป่วยเข่าเสื่อมอยู่เป็นประจำเข่าเสื่อมเป็นอาการที่รักษาไม่หายขาด และมักจะมีอาการปวดเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ ถึงแม้ว่าจะเป็นอาการที่ไม่ร้ายแรงถึงชีวิต ผู้ป่วยมักทุกข์ทรมาน ไม่สามารถทำกิจกรรมที่ตัวเองชอบ เช่น การนั่งกับพื้น การนั่งขัดสมาธิ ทำกิจกรรมทางศาสนาบางอย่างไม่ได้ฉบับนี้ผู้เขียนอยากนำเสนอวิธีการดูแลเข่าไม่ให้เสื่อม โดยเฉพาะคนทำงานวัยที่เข่ายังไม่เสื่อม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่มีโอกาสได้พบผู้ป่วยและได้ตรวจรักษาทั้งชาวกรุงและชาวบ้านในชนบท โดยมีงานประจำที่โรงพยาบาลเอกชนชื่อดังแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ทำอยู่ ๔ วันต่อสัปดาห์ ส่วนช่วงวันหยุดอีก ๓ วันนั้น ก็มีโอกาสได้ไปตรวจรักษาผู้ป่วยชนบทที่ต่างจังหวัด เรียกว่าทุกสัปดาห์ได้สัมผัสความเหมือนและความแตกต่างของผู้ป่วยทั้ง ๒ กลุ่มนี้เป็นเรื่องแปลกแต่จริงที่พบว่าผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ ...