โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 62 มิถุนายน 2527
    ได้มีรายงานพบสารก่อมะเร็ง (eareinogens) ที่สำคัญหลายชนิดในพืชที่เป็นอาหาร เนื่องจากพืชสังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้ป้องกันอันตรายจากเชื้อแบคทีเรีย รา แมลงและสัตว์บางชนิด เช่น ซาโพรล (safrole) ซึ่งมีในน้ำมันอบเชย (sassafras) ใช้ในการแต่งรสเบียร์ พบว่าทำให้เกิดเนื้องอกในสัตว์แทะ สารไฮดราซีน (hydrazine) ที่พบในเห็ดที่เป็นอาหารหลายชนิด เป็นตัวชักนำให้เกิดมะเร็งอย่างรุนแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 61 พฤษภาคม 2527
    ⇒ ชื่อโรคประหลาดนี้มาจากไหนชื่อ โรคเอสแอลอี เป็นชื่อเรียกทับศัพท์ของอักษรย่อในภาษาอังกฤษของโรคนี้คือ SLE ซึ่งมีชื่อเต็มว่า Systemic Lupus Erythematosus ส่วนคำว่าลูปัสหรือลูปุสเป็นการเรียกเฉพาะคำกลางของชื่อเต็มตามนิสัยชอบสะดวกของคนเรา⇒ ใครบ้างจะเป็นโรคนี้ได้เอสแอลดีเป็นโรคที่พบได้ในทุกเชื้อชาติศาสนาทั่วโลก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 57 มกราคม 2527
    ท่านเคยมีหรือพบคนที่มีอาการปวดตามข้อ หรือรู้สึกปวดเมื่อ ปวดล้า เคล็ดขัด ยอก หรือตึงตามเส้นหรือไม่รับรองว่าทุกท่านจะต้องตอบว่า เคย เพราะหากท่านไม่ได้เป็นเอง ก็ต้องเคยเห็นหรือได้ยินคนที่รู้จักบ่นหรือกำลังมีอาการดังกล่าวในขณะที่เรากำลังรณรงค์ต่อต้านยาชุดมหาภัยในประเทศนี้ (ดูนิตยสาร “หมอชาวบ้าน ” ฉบับที่ 54 เดือนกันยายน 2526) ท่านทราบหรือไม่ว่า ยาชุดแก้ปวดเมื่อย ปวดข้อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 57 มกราคม 2527
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    คุณผู้หญิงที่รู้สึกปวดตามาข้อนิ้วมือนิ้วเท้าพร้อมๆ กันหลายๆ ข้อถ้าหากมีอาการเป็นไข้นานหลายวัน ผมร่วงง่าย หรือมีฝ้าแดงขึ้นข้างจมูกแล้วละก้อ มักจะชวนให้สงสัยว่าเป็นโรค เอสแอลอี (SLE) ควรจะรีบไปพบแพทย์ และรักษากันอย่างจริงๆ จังๆ เพราะอาจมีโรคแทรกซ้อนอันตรายได้มากมาย (โรคนี้เคยลงใน หมอชาวบ้าน ปีที่ 3 ฉบับที่ 30 หน้า 40)ถ้าหากไม่มีอาการดังกล่าว ก็อาจเป็น โรคปวดข้อรูห์มาตอยด์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    ถ้าท่านผู้อ่านติดตาม “ประสบการณ์รอบทิศ” มาตลอด จะสังเกตได้ว่าที่ผ่านมรเราได้นำความรู้เรื่องสมุนไพรจากต้นไม้ต้นเดี่ยวๆ มาใช้รักษาโรคแต่มาในฉบับนี้เราขอบเปลี่ยนบรรยากาศโดยการเสนอตำรับยาที่มีตัวยาผสมกันหลายตัวจาก พระเทพสุธี เจ้าอาวาสวัดนงคราม ฝั่งธนบุรี ซึ่งทานหลวงลุงผู้นี้รู้จักคุ้นเคยกับโครงการฯ จึงได้ให้ตำรายาแก้โรคหืดมา ส่วนผสมที่ใช้มีฝางเสน ใช้หนัก 2 บาท 2 สลึงแก่นแสมสาร ใช้หนัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 52 สิงหาคม 2526
    การมีก้อนบวมเกิดขึ้นที่บริเวณซอกคอ ข้างหนึ่งข้างใด ถือว่าเป็นภาวะที่ไม่น่านิ่งนอนใจหากไม่ใช่วัณโรคของต่อมน้ำเหลือง ก็อาจเป็นมะเร็งของต่อมน้ำเหลืองก็ได้ ภาพที่ 1 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 50 มิถุนายน 2526
    "เป็นอะไรครับ""รู้สึกเป็นไข้ครับ""ตัวร้อนไหม""ไม่ร้อนครับ"ตัวอย่างข้างต้นมีเสมอๆ คำว่าไข้ สำหับคนบางคนนั้นมีความหายแต่เพียงว่า "ไม่สบาย" เท่านั้น มีอะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องมีไข้หรือตัวร้อนเสมอไปดังเช่นคำว่า "คนไข้" ซึ่งหมายถึง คนที่ไม่สบายด้วยเหตุใดก็ตาม ไม่จำเป็นต้องมีไข้หรือตัวร้อน จึงมีคนหลบจากคำว่า "คนไข้" มาเป็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 49 พฤษภาคม 2526
    โรคเก๊าท์ เป็นโรคโบราณที่มีผู้บันทึกในรายงานแพทย์มานับพันปี สมัยฮิปโปเครติส (Hippocrates) ซึ่งเป็นบิดาการแพทย์สากลเมื่อสองพันปีก่อน ก็ได้กล่าวถึงอาการของโรคนี้ และได้เรียกชื่อเป็นศัพท์แพทย์หลายๆ ชื่อตามตำแหน่งของข้อที่มีอาการอักเสบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 49 พฤษภาคม 2526
    ตามปกติ คนเราจะมีต่อมน้ำเหลืองกระจายอยู่ทั่วร่างกายโดยเฉพาะตรงซอกคอ ใต้คาง รักแร้ และขาหนีบต่อมน้ำเหลืองที่เป็นปกติจะมีขนาดเล็กมากจนคลำไม่ได้มันจะเรียงตัวอยู่ตามทำน้ำเหลือง คอยสกัดจับและทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม (รวมทั้งเซลล์มะเร็ง) ที่หลุดผ่านเข้ามาคล้ายๆ กับด่านตำรวจที่คอยสกัดจับผู้ร้ายเมื่อจับเชื้อโรคได้ ก็จะเกิดปฏิกิริยาทำให้ต่อมน้ำเหลืองมีการอักเสบ บวมโต เป็นเม็ด ...