โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 81 มกราคม 2529
    การตรวจรักษา อาการหวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล ไซนัส ประชาชนทั่วไปสามารถที่จะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตร ได้โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อยๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80) จะรักษาได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด”จะนำเสนอท่านเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้การดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นครั้งที่แล้วได้พูดถึงอาการหวัด อาการคัดจมูก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 80 ธันวาคม 2528
    มะเร็งจากสาเหตุต่างๆ ตั้งแต่เช้า ออกกำลังกายให้สดชื่น พร้อมเปิดวิทยุ (เมดอินไทยแลนด์) ไปที่คลื่น 864 กิโลเฮิรตซ์ สถานี ปชส.7 รายการ “สุขภาพประจำวัน” เวลา 5.00 น.-5.15 น. ทุกวันจันทร์ถึงเสาร์ และรายการ “หมอชาวบ้าน”เวลา 4.30-5.00 น.ทุกวันเสาร์ครั้งที่แล้ว “คุยกันทางวิทยุ” ได้เสนอเรื่อง “อะฟลาทอกซิน” ซึ่งเป็นตัวการหนึ่งที่ทำให้เกิดมะเร็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 74 มิถุนายน 2528
    วิธีรักษาไข้หวัดแบบประหยัดระยะย่างเข้าหน้าฝนนี้ ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ต่างถูกไข้หวัดเล่นงานกันงอมแงม โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านที่มีลูกหลานเล็กๆ ที่เพิ่งเข้าเรียนหนังสือในปีแรก อาจรู้สึกเดือดร้อนที่เด็กน้อยเป็นไข้หวัดแทบไม่เว้นแต่ละเดือน ต้องขาดเรียนอยู่เรื่อยๆ และเสียเงินค่ายาค่าหมอทีละไม่น้อยเคยมีผู้อ่านซึ่งเป็นคนในโรงงานเขียนจดหมายมาเล่าให้ฟังว่า มีลูกเป็นไข้หวัดบ่อย แต่ก่อนต้องพาไปหาหมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    ไต: เครื่องกรองนํ้าประจำตัวเมื่อเลือดเอาอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายแล้วของเสียที่เกิดขึ้นจากการเผาผลาญอาหารในร่างกาย ก็จะซึมกลับเข้าสู่กระแสโลหิต เพื่อนำไปกำจัดทิ้งออกนอกร่างกาย กระบวนการกำจัดของเสียนี้เป็นหน้าที่ของไต ไตเปรียบเสมือนเครื่องกรองนํ้า กรองเอาสิ่งที่เป็นปฏิกูลในเลือดออก เก็บสารที่ยังจำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อร่างกายให้เซลล์ร่างกายเอาไว้ใช้ สิ่งที่ไตกรองออก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 73 พฤษภาคม 2528
    ค้นหาโรคหัวใจในภาคแรกเราได้พูดถึงลักษณะทั่วไปของโรคหัวใจ ว่าเกิดขึ้นกับคนจำพวกไหน หรือกลุ่มไหนมีความมาอย่างไร และใครบ้างมีโอกาสจะถูกแจคพอทตายจากโรคหัวใจขณะออกกำลังกาย ตลอดจนการวิ่งมีผลดีอย่างไรต่อหัวใจ ทั้งในแง่ป้องกันและรักษา มาถึงตอนนี้ เราจะมาดูกันว่า อาการของของโรคหัวใจเป็นอย่างไรโดยละเอียด และเราจะรู้ (หรือไม่รู้) ได้ไหมว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    การสูบบุหรี่อาจเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อสุขภาพของท่านควันยาสูบมีสารเคมีที่เป็นอันตรายอยู่ 3 ชนิดด้วยกันคือ ทาร์ (ถ่าน) นิโคติน และคาร์บอนมอนนอกไซด์ ทาร์ คือส่วนผสมของสารเข้มข้นหลายประเภท ที่เกาะตัวกันเหนียวมีลักษณะคล้ายน้ำเชื่อมอยู่ในปอด นิโคตินคือยาเสพย์ติดชนิดหนึ่งซึ่งปอดดูดซึมได้ และมีปฏิกิริยาต่อระบบประสาทโดยตรง ส่วนคาร์บอนมอนนอกไซด์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    ตับอ่อน เป็นอวัยวะหนึ่งที่อยู่ภายในช่องท้องของคนเรา หาใช่คำตรงข้ามของ “ตับแข็ง” ไม่ ตับอ่อนเป็นต่อมอย่างหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุด รูปร่างคล้ายตัวลูกอ๊อด อยู่ใต้ตับ วางขวางอยู่ในช่องท้องส่วนบน พาดไปใต้กระเพาะอาหารตับอ่อนแบ่งออกเป็นส่วนหัวและส่วนหาง ส่วนหัวก็คือส่วนที่มีลักษณะคล้ายหัวของลูกอ๊อด ส่วนที่ต่อยาวออกไปก็คือส่วนหางตับอ่อนเป็นอวัยวะสำคัญที่ทำหน้าที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 66 ตุลาคม 2527
    คนทั่วไปมีจำนวนไม่น้อยที่ปกติไม่ได้ออกกำลังกาย และโดยเฉพาะเมื่อมีโรคประจำตัว ยิ่งไม่กล้าออกกำลังกายเข้าไปอีก เพราะคิดว่า จะมีผลกระทบกระเทือนต่อสุขภาพมากขึ้นผู้เขียนเขียนบทความชิ้นนี้เพื่อเสนอแนวทางการออกกำลังกายสำหรับคนเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เพราะเห็นว่า ผู้ป่วยด้วยโรคทั้งสองมีจำนวนมาก อย่างไรก็ตามขอให้เข้าใจว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 65 กันยายน 2527
    โรคปวดข้ออะไรเอ่ย ที่ท่านไม่ได้เป็น แต่มักจะถูก (ท่านหรือคนอื่น) เข้าใจผิดว่าเป็นคำตอบก็คือ โรครูมาตอยด์ นี่เองท่านผู้อ่านจำนวนมากอาจจะเคยได้ยินชื่อโรครูมาตอยด์ มาบ้างแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เคยปวดข้อหรือมีญาติพี่น้องคนรู้จักเป็นโรคปวดข้อ แล้วมักจะมีใครสักคนบอกท่านว่า เป็นโรครูมาตอยด์ และต่อด้วยความว่า เป็นโรคเรื้อรัง รักษาไม่หาย (ฟังแล้วก็ใจหาย) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 63 กรกฎาคม 2527
    ศาสตราจารย์นายแพทย์ณัฐ ภมรประวัติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ซึ่งเชี่ยวชาญเกี่ยวกับโรคมะเร็งในตับได้เคยพูดคุยกับ หมอชาวบ้าน ปีที่ 3 ฉบับที่ 35 ปี พ.ศ.2524 ถึงเรื่อง “มะเร็งของตับ”เมื่อพูดถึงหนทางของการป้องกันโรคมะเร็งในตับท่านไม่ทราบจะแนะนำอะไร ...