โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 48 เมษายน 2526
    โรคประสาท⇒ สุขภาพจิตนั้นสำคัญไฉนงานบริหารด้านสาธารณะสุขในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีว่าขาดแคลนทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศระหว่างพัฒนา ดังที่นายแพทย์ มาห์เลอร์ ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลกได้กล่าวว่า“ ในประเทศอัฟริกาเด็กทารกมีโอกาสเจริญเติบโตเข้าสู่วัยรุ่นเพียงร้อยละ 50 ของประชากรของโลก 4 ใน 5 ส่วนไม่เคยได้รับการดูแลด้านสุขภาพอย่างถาวร เด็กต้องตายลงปีละมากกว่า 5 ล้านคน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 35 มีนาคม 2526
    ไข่ เป็นอาหารที่สำคัญประจำบ้านอย่างหนึ่ง หาซื้อได้ง่าย การเก็บรักษาและการเตรียมเพื่อกินก็ทำได้สะดวก สามารถปรุงเป็นอาหารได้หลายชนิด นับตั้งแต่อาหารที่เป็นไข่ล้วนๆ อาทิเช่น ไข่ลวก, ไข่เจียว, ไข่ดาว, ไข่กวนน้ำ (แกงจืดไข่), ไข่ลูกเขย, ไข่หวาน และฝอยทอง นอกจากนี้ ยังมีอาหารทั้งคาวและหวานอีกมากมาย ที่มีส่วนประกอบทำมาจากไข่ที่คุ้นๆ กันก็คงมี ไข่ยัดไส้, ไข่เจียวหมูสับ, ข้าวผัดใส่ไข่, ทองหยิบ, สังขยา, ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 44 ธันวาคม 2525
    ลายนิ้วมือบอกโรคมะเร็งเต้านมคุณเคยสงสัยไหมคะว่าทำไมตำรวจมักดูลายนิ้วมือให้ผู้ต้องหาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือเก็บไว้เป็นหลักฐาน แต่หมอดูกลับดูลายฝ่ามือ ไม่ยักดูลายนิ้วมือ ก็เพราะมีการพบว่า ลายนิ้วมือของคนนั้นคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตลอดชีวิต จึงเป็นหลักฐานจับผิดจับถูกได้ดีนักแลแต่เส้นลายฝ่ามือจะมีเส้นที่ไม่เปลี่ยนแปลงกับเส้นที่เปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ๆ ตลอดชีวิต นี่แหละ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 42 ตุลาคม 2525
    โรคเก๊าท์โรคปวดข้อที่ห้ามกินเครื่องในสัตว์โรคเก๊าท์ – ชื่อนี้ฟังดูอาจแปลกหูสำหรับผู้อ่านบางท่าน คำว่า “เก๊าท์” เขาเรียกทับศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Gout หาใช่ เรียกทับศัพท์จากภาษาจีนแต้จิ๋ว ซึ่งแปลว่า “ลิง” ไม่แต่ความจริง คนที่มีอาการของโรคเก๊าท์ บางครั้งจะเจ็บปวดตามข้อจนอยู่ไม่สุข คล้ายลิงได้เหมือนกันทีเดียวแหละครับโรคนี้ พบมากในผู้ชายอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 41 กันยายน 2525
    โรคหัวใจฉบับที่แล้ว “โรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศไทย” ได้กล่าวถึงโรคที่เรียกกันเองแต่ไม่ใช่โรค คือ1.“โรคหัวใจอ่อน2.“โรคหัวใจโต”3.“โรคหัวใจวาย” กับ “ภาวะหัวใจล้ม”และโรคที่เกิดจากโรคหัวใจจริง ๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 40 สิงหาคม 2525
    โรคหัวใจโรคหัวใจที่พบบ่อยในประเทศ คือ1.)โรคหัวในอ่อน“โรคหัวใจอ่อน” หรือบางคนอาจะเรียกว่า “โรคประสาทหัวใจ” หรือบางครั้งก็อาจจะมีชื่อแปลก ๆออกไป ทำให้คิดว่าเป็นเรื่องอื่น ๆ เช่น “โรคหัวใจวาย” “โรคความดันเลือดต่ำ” “โรคเลือดน้อย” เป็นต้น อาจจะกล่าวได้ว่าโรคนี้ หรือภาวะอย่างนี้พบบ่อยที่สุดในบรรดาโรคหัวใจทั้งหลาย ทั้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 39 กรกฎาคม 2525
    การตรวจร่างกาย ตอนที่ 33 ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้”การตรวจตามระบบการตรวจทรวงอก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 38 มิถุนายน 2525
    ไข้รูห์มาติคโรคข้ออักเสบในเด็ก ชื่อนี้คงคุ้นหูคุ้นตาคุณผู้อ่านที่ติดตาม “หมอชาวบ้าน” มาตั้งแต่แรก เพราะทุกครั้งที่กล่าวถึงโรคต่อมทอนซิลอักเสบ (ไข้เจ็บคอ) หรือโรคลิ้นหัวใจพิการ เรามักจะพูดถึง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 37 พฤษภาคม 2525
    โรคผิวหนังที่พบบ่อย(ตอนที่ 3 ) ลมพิษพบได้ทุกเพศทุกวัย มีลักษณะขึ้นเป็นปื้นนูนสีซีด ขอบแดง มีอาการคันมาก พอเกาตรงไหน ก็จะมีผื่นแดงขึ้นตรงนั้น มีขนาดและรูปร่างต่าง ๆกัน เช่น เป็นวงกลม วงรี วงหยัก บางครั้งดูเหมือนแผนที่ มักเป็นอยู่ 3-4 ชั่วโมง แล้วหายไปเอง แต่จะขึ้นใหม่ได้บ่อย ๆโรคนี้มีสาเหตุมาจาการแพ้เช่น แพ้อาหารทะเล แพ้ยา แพ้ความเย็น แพ้ฝุ่น แพ้อากาศ เป็นต้นการรักษาให้กินยาแก้แพ้ – ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 35 มีนาคม 2525
    ในบ้านเราพบมะเร็งตับได้บ่อยไหม ?มะเร็งตับในเมืองไทยเรา นับว่าเป็นโรคที่พบบ่อยชนิดหนึ่ง จากรายงานสถิติเมื่อปีที่แล้ว จัดอยู่ในอันดับ 1 ของโรคมะเร็งที่เกิดในเพศชาย และอันดับที่ 4 หรือ 5 ในเพศหญิง ...