พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 เมษายน 2539
    แสงแดด-คุณหรือโทษความเชื่อเรื่องแสงแดดมีประโยชน์ต่อสุขภาพของคนเป็นที่รู้กันมานานตั้งแต่สมัยโบราณก่อนคริสต์ศักราช 3,000 ปี คือตั้งแต่กรีก อียิปต์ และเปอร์เชียนโบราณ ชนชาติบางเผ่า บูชาแสงแดดเป็นเทพเจ้าแห่งสุขภาพ สมัยฮิปโปเครตีสมีการสร้างวิหารเสียงดนตรี วิหารยารักษาโรค และวิหารแสงแดด ซึ่งแสดงการยอมรับว่า 3 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 203 มีนาคม 2539
    กุญแจสู่สุขภาพ ผัก ผลไม้ และสารต้านออกซิแดนต์ในช่วงเดือนสิงหาคม 2538 ผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เพื่อรวมประชุมสัมมนานานาชาติเกี่ยวกับเวชกรรมฝังเข็มและการแพทย์ธรรมชาติ (3rd World Congress of Medical Acupuncture and Natural Medicine) ซึ่งจัดโดย “มูลนิธิการแพทย์ ธรรมชาติแห่งโลก" (World Natural Medicine Foundation) ที่เมืองเอดมอนตัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 202 กุมภาพันธ์ 2539
    ปวดหัว (ตอนที่ 2 ) คนไข้รายที่ 2หญิงอายุประมาณ 40 ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงในตอนกลางดึกหญิง : “โอย...คุณหมอ...ช่วยหน่อย ปวดหัวจังเลยค่ะ”หมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    การใช้คอมพิวเตอร์กับสายตาการใช้คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำวันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เราอาจใช้คอมพิว-เตอร์ในการบันทึกข้อมูล ต้นหาข้อมูลและอื่น ๆ สำหรับเด็กมักใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกม ซึ่งเด็กบางคนก็เล่นติดต่อกันเป็นเวลาหลายชั่วโมงเนื่องจากมีการใช้คอมพิวเตอร์กันอย่างแพร่หลาย จึงมีคำถามมากมายว่าการใช้คอมพิวเตอร์มีอันตรายต่อร่างกายหรือไม่ มีอันตรายต่อสายตา หรือมีผลทำให้เกิดโรคตา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 6)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 5 : หญิงวัยรุ่นอายุประมาณ 20 ปี แต่งเครื่องแบบนักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีชื่อแห่งหนึ่ง เดินเข้ามาหาหมอด้วยใบหน้าแสดงความกังวลหญิง : ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    เสียงพูดผิดปกติเสียงพูดผิดปกติ หมายถึง น้ำเสียงของเสียงพูดนั้นผิดไปจากปกติที่เคยเป็น ทำให้ผู้ฟังรู้สึกไม่คุ้นหู อาการเสียงพูดผิดปกติ เช่น เสียงแหบ เสียงแห้ง เสียงขึ้นจมูก เสียงอู้อี้ เสียงสูงไปหรือต่ำไป เสียงหลง เสียงราบเรียบ เสียงดังไปหรือเสียงค่อยไป เสียงห้าว เสียงหอบ เสียงสั่น หรือการที่พูดแล้วไม่มีเสียง เหล่านี้เป็นต้นอาการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา ผู้ป่วยบางรายอาจจะไม่รู้ตัว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 1)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่า เป็นคำกริยา แปลว่า “ลูกโพลงแล้วดับไปทันที ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    ความเป็นพิษของวิตามินเกินขนาดปัจจุบันคนไทยหันมาสนใจ เรื่องสุขภาพกันมากกว่าในอดีต เรื่องของการกินอยู่อย่างไรเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่เจ็บป่วย เพราะสิ่งแวดล้อมรอบด้านล้วนแต่เป็นพิษภัยทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นอากาศ น้ำ ดิน แม้กระทั่งคนซึ่งทำทุกอย่างเพื่อเพิ่มผลประโยชน์ให้ตน ทั้งที่ทำโดยความไม่รู้และผู้ที่นำความรู้มาหันเหบิดเบือนจากความเป็นจริง เพื่อให้คนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์หลงเชื่อ ดังนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    ความเครียดและสุขภาพอะไรเอ่ย ดีใจก็เกิดได้ เสียใจก็เกิดได้ เกิดได้ทั้งเวลาประสบ ความสมหวังและผิดหวัง (เป็นภาวะอย่างหนึ่งของร่างกายและจิตใจ)คำตอบก็คือ การเกิดภาวะเครียดนั่นเองเนื่องจากความเครียดทำให้เกิดการตอบสนองของร่างกายได้เกือบทุกส่วน ทั้งอาการทางร่างกาย และอาการทางจิตใจ แต่ไม่จำเพาะ ตัวอย่างเช่น ปวดศีรษะ ปวดคอ ปวดหลัง ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ หัวใจสั่น หายใจขัด หายใจถี่ เหงื่ออกง่าย ตกใจง่าย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 193 พฤษภาคม 2538
    เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 9)เรื่องราวต่าง ๆทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปภาคสรุปคำว่า “เจ็บหัวใจ” ในที่นี้ หมายถึง อาการที่เกิดขึ้นจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial ischemia) หรือเรียกสั้น ๆว่า ...