-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
สมองและการเรียนรู้"ปัจจุบันในนานาอารยประเทศมีผลวิจัยทางสมองมากมาย ทำให้เราทราบว่าการพัฒนาสมองนั้นมีผลกระทบมาจากการอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริม การสนับสนุนจากผู้เลี้ยงดู ผู้ปกครอง และพ่อแม่ (ร้อยละ ๔๐-๗๐ ) มากกว่าพันธุกรรม (ร้อยละ ๓๐-๖๐) และทำให้ทราบว่า เด็กที่เกิดมาแล้วถูกทอดทิ้ง ใยประสาทของเซลล์สมองจะเกิดน้อย ทำให้ความฉลาดน้อยและเรียนได้ช้า ทำอะไรไม่ค่อยไว เฉื่อยชา ขาดเหตุผล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
ศิลปะกับการพัฒนาสมองมนุษย์เรารู้กันมานานแล้วว่าศิลปะคือสิ่งจรรโลงจิตใจมนุษย์ช่วยให้มนุษย์มีจิตใจที่อ่อนโยน สงบ และไม่หยาบกระด้าง เราใช้ศิลปะบางแขนงช่วยในการเยียวยาความเจ็บป่วยของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ นี่คือคุณประโยชน์ของศิลปะที่เรารับรู้ แต่ก็ยังไม่มีใครบอกได้ว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
ถาม : นุชนาฏ/กรุงเทพฯดิฉันอายุ ๒๗ ปี เพิ่งคลอดลูกชายคนแรกอายุได้ ๔ เดือนแล้วค่ะ (เลี้ยงเองค่ะ มีคุณแม่มาช่วยเลี้ยงด้วย) อยากจะขอเรียนถามคุณหมอ ว่าลูกอายุขนาดนี้ควรจะให้ลูกกินอาหารเสริมอะไรบ้าง เพราะอยากให้ลูกเติบโตขึ้นมาอย่างคนสุขภาพดีและแข็งแรงค่ะ ขอความกรุณาคุณหมอ ช่วยตอบด้วยนะคะตอบ : นพ.ยุทธสิทธิ์ ธนพงศ์พิพัฒน์นมแม่ คือ อาหารที่ดีที่สุด และจำเป็นที่สุดสำหรับทารกแรกเกิด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
315
กรกฎาคม 2548
โรคภัยทางช่องปากของเด็กไทยเด็กไทยกับพฤติกรรมการกินนมเป็นปัจจัยแรกที่ทำให้เด็กมีความเสี่ยงต่อฟันผุ ด้วยวิธีเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้องทั้งการกินนมหวาน เลิกนมมื้อดึกช้ากว่า ๖ เดือน เลิกนมขวดช้ากว่าอายุ ๑๘ เดือน และเด็กหลับคาขวดนม จากการประมวลผลการวิจัยพบว่า เด็กอายุ ๑ ขวบ กินนมรสหวานร้อยละ ๔๔.๔ และจะเพิ่มจำนวน มากขึ้นเมื่อเด็กอายุมากขึ้นคือ เด็กอายุ ๔ ขวบ กินนมรสหวาน ร้อยละ ๖๖.๕ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
315
กรกฎาคม 2548
โรคคาวาซากิ (Kawazaki disease)ผู้ถาม : สุทธิพงษ์/กาญจนบุรีผมมีปัญหาอยากจะขอเรียนถามคุณหมอเกี่ยวกับ "โรคคาวาซากิ" ครับว่าโรคนี้มีความเป็นมาอย่างไรอาการแสดงของโรคเป็นอย่างไรถ้าเป็นแล้วสามารถรักษาได้ไหมขอความกรุณาคุณหมอช่วยตอบด้วยนะครับผู้ตอบ : พญ.ดารารัตน์ สัตตวัชราเวชพบครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๐ โดย นพ. Tomisaku Kawazaki ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
315
กรกฎาคม 2548
ตัวอย่างผู้ป่วยที่ต้องรักษา "คน" ให้ได้ก่อน "ไข้"ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๒๙ในช่วงเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๘ ข่าวไข้เลือดออกระบาดในประเทศไทยได้รับความสนใจสูงสุดเมื่อมีการแถลงข่าวการป่วยของ ด.ช.ภูมิภัทร ผลสมบูรณ์โชค หรือ "น้องภูมิ" ซึ่งป่วยหนักด้วยโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเดงกี่ (Dengue hemorrhagic fever) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
311
มีนาคม 2548
ในคนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานหรือที่เรียกว่าอ้วนนั้น มักมีความต้องการที่จะลดน้ำหนักให้น้อยลง วิธีการที่ใช้กันมากที่สุดก็คือการลดหรือจำกัดอาหารร่วมกับการออกกำลังกาย สำหรับผู้ใหญ่ที่อ้วน ก็คงสามารถจะจำกัดอาหารได้ตามถนัด แต่ ในเด็กที่อ้วนการจำกัดอาหารเป็นวิธีที่ต้องทำด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากร่างกายและสมองของเด็กนั้นกำลังเจริญเติบโต การจำกัดอาหาร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
311
มีนาคม 2548
การเล่นเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็ก"การเล่นเป็นกระบวนการที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของพัฒนาการในวัยเด็ก ผู้ใหญ่ต้อง เข้าใจและเห็นคุณค่าการเล่นของเด็ก" การเล่นที่ให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน กระตุ้นการเรียนรู้ ค้นคว้า ท้าทาย จะเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับเด็ก กระตุ้นให้เด็กมีพฤติกรรมรักการเรียนรู้ด้วยตนเอง การแสวงหาประสบการณ์ใหม่ การค้นคว้า ทดลอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
ผู้ใหญ่มักเตือนสติลูกหลานว่าอย่าชิงสุกก่อนห่าม นั่นคือ การสอนไม่ให้ทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัย หรือยังไม่ถึงเวลา ซึ่งมักสอนในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรแล้วเมื่อไหร่คือวัยอันสมควรและเหมาะสมเราท่านควรเข้าใจเรื่องความรัก ความใคร่ของหญิงชายกันก่อนดีไหมความรัก ความใคร่...ชายหญิงไม่เหมือนกันความรักและความใคร่มีความสัมพันธ์กัน เปรียบเสมือนวงกลม ๒ วงที่ซ้อนกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
ถาม : บุษบา/ชลบุรีดิฉันมีปัญหาเกี่ยวกับลูกสาวจะเรียนปรึกษาค่ะ คือ ลูกสาวอายุ ๓ ขวบ อยู่อนุบาล ๑ มีความจำดีมาก (คุณครูชมให้ฟัง) อ่านได้ และชอบทำกิจกรรม จะให้ร้องเพลงหรือให้เต้นรำ ลูกสาวจะทำเต็มที่แต่ปัญหาคือ จนป่านนี้ยังเขียน ไม่ค่อยได้ เขียนได้ตัว หรือ ๒ ตัว แล้วก็เลิก และถูกดุจะไม่ยอมเขียนเลย ดิฉันกลุ้มใจมาก จึงอยากทราบว่าอย่างนี้เขาเรียกว่าสมาธิสั้นหรือเปล่าค่ะ ...