โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
แบกเป็นกิจกรรมที่ทำกันอยู่ทุกวัน แบกในที่นี้มาจากคำภาษาอังกฤษว่า carrying ซึ่งรวมถึง การเคลื่อนย้ายวัตถุในแนวราบด้วยการเดิน ไม่ว่าจะเป็นการถือวัตถุด้วยมือ หรือแบกด้วยบ่า คอ ไหล่ การหาบ ทูนวัตถุด้วยศีรษะ เป็นต้น การแบกสามารถก่อให้เกิดอุบัติเหตุขณะทำงานและเป็นสาเหตุให้เกิดการบาดเจ็บสะสมได้ เช่นเดียวกับการยก การดึงและดันวัตถุ แต่ที่สำคัญ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
308
ธันวาคม 2547
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งที่ทำงาน โรงเรียน และบ้าน ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ในการใช้คอมพิวเตอร์ จะคำนึงถึงขนาดของโต๊ะ เก้าอี้ และการจัดวาง คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากขนาดและการจัดวางที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่ส่งผลทำให้เกิดอาการปวด ตึง และการลดลงของประสิทธิภาพของการทำงาน แต่ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่สำคัญอีก และต้องจัดให้เหมาะสม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
294
ตุลาคม 2547
ปวดบริเวณต้นแขนถาม : มนตรา/กรุงเทพฯดิฉันอายุ ๕๕ ปี น้ำหนัก ๖๐ กิโลกรัม สูง ๑๕๘ เซนติเมตร เป็นแม่บ้าน มีอาการปวดแถวบริเวณต้นแขนข้างขวา เฉพาะตอนนอน ในเวลากลางคืนแทบทุกคืนจะปวดจากข้างใน เพราะถ้าใช้นิ้วมือกดบริเวณที่ปวดจะไม่รู้สึกเจ็บเลย ตอนกลางวันจะทำงานบ้านก็ไม่เคยปวด และดิฉันได้ไปหาหมอเขาก็เอกซเรย์ว่าเป็นซีสต์ ให้ยามากินแก้ปวด และให้บริหารยืดไหล่ หายใจเข้า-ออก และให้ถือขวดใส่น้ำ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
304
สิงหาคม 2547
นอกจากการจัดวางจอคอมพิวเตอร์ เอกสารที่พิมพ์ โต๊ะ และเก้าอี้ให้เหมาะสม ยังมีความจำเป็นอย่างที่ต้องจัดวางแป้นพิมพ์และเมาส์ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องเหมาะสมกับอุปกรณ์งานที่ทำ ตลอดจนตัวผู้ใช้เองเพราะการจัดวางที่ไม่เหมาะสมทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง หรือเกิดการบาดเจ็บของส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้ เช่น เส้นประสาทและเอ็นรอบอุโมงค์ข้อมืออักเสบ เอ็นข้อศอกอักเสบ กล้ามเนื้อ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
303
กรกฎาคม 2547
ยืนทำงานอย่างไรให้ไร้โรคยืน เป็นท่าทางที่ใช้ในชีวิตประจำวันและใช้มากในกลุ่มคนที่ต้องยืนประกอบอาชีพ ยกตัวอย่างเช่น การยืนเฝ้ายาม การยืนขายของ หรือการยืนทำงานในโรงงาน เช่น ยืนขณะประกอบอุปกรณ์ต่างๆ ยืนแกะกุ้งหรือชำแหละไก่ เป็นต้น และบางอาชีพต้องยืนตรงให้สวยงาม เช่น พนักงานขายสินค้าในห้าง พนักงานเหล่านี้ถ้าไม่เดินให้บริการลูกค้าก็ต้องยืนตรงประจำตำแหน่ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
301
พฤษภาคม 2547
ดึงและดันอย่างไรจึงปลอดภัยผศ.ดร.วรรธนะ ชลายนเดชะการเคลื่อนย้ายวัตถุด้วยการดึงและดันมีความจำเป็นมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีการใช้อุปกรณ์ช่วย ในการทำงานมากขึ้นแทนการแบกหรือหามด้วยแรงคน เช่น การดึงหรือดันรถเข็นของ การดึงและดันระหว่างการทำงานอาจทำให้เกิดบาดเจ็บได้ เช่น ปวดหลัง หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน ปวดกล้ามเนื้อแขนและลำตัว หรือการบาดเจ็บจากการลื่นล้ม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
299
มีนาคม 2547
ปวดไหล่ข้างเดียวถาม : วิโรจน์/ชลบุรีผมมีเรื่องขอเรียนถามคุณหมอ ดังนี้ครับ ผมอายุ ๓๐ ปี สุขภาพทั่วไป แข็งแรงดีครับ แต่ตอนนี้มีอาการปวดยอกบริเวณไหล่ขวา เป็นมาประมาณ ๑ สัปดาห์ เพราะต้องนั่งทำงานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ตลอด และโต๊ะที่ใช้ก็ไม่ใช่โต๊ะคอมพิวเตอร์ (บริษัทฯ กำลังจะซื้อให้ครับ) อยากทราบว่ามีวิธีการแก้ปวดไหล่ข้างเดียวไหมครับ กรุณาตอบด้วยนะครับตอบ : อาจารย์มนูญ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
297
มกราคม 2547
งาน...เหลียวมองสักนิด พิชิตปัญหาปวดงานกับโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้องานคือสิ่งที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้ เราต้องทำงาน ต้องอยู่กับงาน ใช้เวลาส่วนใหญ่ของเรากับงาน ไม่เฉพาะงานที่ทำงานเท่านั้น ยังมีงานพิเศษหรือที่ใช้คำว่ารับ job หรือแม้กระทั่งงานบ้าน งานต่างๆ ที่กล่าวมานี้ถ้าไม่เหมาะสมกับผู้ทำ ก็จะเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ อาทิ โรคปวดคอ ปวดหลัง ปวดเข่าได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
287
มีนาคม 2546
ผมว่าหลายๆ คนคงเคยมีปัญหาคอหันไม่ค่อยได้ คนทั่วไปมักจะบอกว่าตกหมอน อาการคือ คอหันได้ลำบาก รู้สึกเจ็บ บางคนก็เป็นมากขนาดจะหันหน้าไปทางไหนก็จะต้องหันไปทั้งตัว ขับรถก็ลำบาก ผมจะคุยให้ฟัง แก้ไขได้ไม่ยากเลย แล้วนำไปช่วยเหลือตนเอง และดูแลสามี ภรรยา ลูกเราด้วยตกหมอนเป็นอาการที่คอหันไม่สะดวก เจ็บบริเวณต้นคอ สาเหตุเริ่มต้น ไม่ใช่เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น โดนภรรยาตบ หรือโดนสามีเตะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
287
มีนาคม 2546
รัชนี/ฉะเชิงเทรา : ผู้ถามดิฉันเป็นโรคปวดหลังเรื้อรังมาหลายปีแล้ว ได้ไปรักษาที่คลินิกแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ โดยการทำกายภาพบำบัดและทำอัลตราซาวนด์ไฟฟ้าจี้อยู่เดือนกว่าๆ อาการก็ดีขึ้น แต่ก็ยังไม่หายดีก็เลยเลิกรักษา ที่เลิกรักษาเพราะทนไฟฟ้าจี้ไม่ไหว ปวดมากค่ะ ก็เลยหยุด แล้วต่อมาดิฉันไปหาหมอที่โรงพยาบาลศิริราช ไปทำไคโรแพกติก อยู่ทั้งหมด ๑๘ ครั้ง อาการก็ทุเลาบ้างนิดหน่อย ...