กรณีศึกษา

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    หอบเหนื่อยชายชาวบ้านอายุ ๖๐ ปี ถูกพามาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการหอบเหนื่อยมาหลายปี เดิมรักษาอยู่ที่โรงพยาบาลร้อยเอ็ด บางครั้งก็ไปรักษาที่โรงพยาบาลขอนแก่น แต่อาการหอบเหนื่อยก็เป็นๆ หายๆ เรื่อยมา ลูกๆ จึงพามารักษาที่โรงพยาบาลกรุงเทพฯ หวังจะรักษาให้หายขาดเพราะผู้ป่วยห่วงนาที่ไม่มีใครทำ ลูกๆ ก็มาทำงานที่กรุงเทพฯ ผู้ป่วยอยากจะแข็งแรงและทำงานได้ใหม่ แต่ระยะหลังทำนาไม่ไหว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๓๗หญิงไทยอายุ ๕๖ ปีมาขอปรึกษาปัญหาสุขภาพ โดยหอบแฟ้มเอกซเรย์ และผลตรวจต่างๆจากโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งมาด้วย ผู้ป่วย: "อิชั้นไปตรวจสุขภาพมาค่ะ หลังตรวจหมอบอกว่าอิชั้นมีไขมันในเลือดสูง คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ สงสัยจะเป็นโรคหัวใจ จะให้อิชั้นไปสวนหัวใจ หรือตรวจ MRI แบบใหม่ล่าสุด ที่เห็นหลอดเลือดหัวใจตีบหรือไม่ตีบด้วย อิชั้นจึงมาขอคำปรึกษาคุณหมอก่อน"แพทย์: ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๓๖มีประวัติโรคลมชักมาตั้งแต่เกิดเมื่อตอนเช้ามืด บิดาผู้ป่วยได้ยินเสียงตึงตังในห้องนอนลูก วิ่งเข้าไปดู พบว่าลูกกำลังชักอยู่ จึงเข้าไปช่วยไม่ให้ลูกเกิดอันตราย แล้วเรียก ๑๖๖๙ในการตรวจเยี่ยมผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินในเย็นวันหนึ่ง เมื่อเดินตรวจเยี่ยมมาถึงเตียงชายหนุ่มรูปร่างสูงใหญ่นอนหลับอย่างสบายอยู่บนเตียงเข็น (เตียงแคบๆ ที่มีราวเหล็ก ๒ ข้างกันผู้ป่วยพลิกตกจากเตียง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 321 มกราคม 2549
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๓๕กินถั่วมากจนแน่นขึ้นมาในอกหญิงไทยอายุ ๖๗ ปี นอนอยู่บนเตียงเข็นในห้องฉุกเฉินในเช้าวันหนึ่ง หน้าตาผ่องใส ไม่มีวี่แววของความเจ็บปวดหรือความเจ็บป่วยใดๆแพทย์ประจำบ้าน : “ผู้ป่วยรายนี้มาด้วยอาการเจ็บหัวใจ มา ๗-๘ ชั่วโมงครับ อมยาใต้ลิ้นไป ๓ เม็ด แล้วไม่ดีขึ้น จึงมาโรงพยาบาลผู้ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบทั้ง ๓ เส้น เคยสวนหัวใจไปแล้วเมื่อ ๔ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๓๔อุบัติเหตุจากรถมอเตอร์ไซค์คว่ำในการตรวจเยี่ยมผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินในเช้าวันหนึ่งแพทย์ประจำบ้าน: ผู้ป่วยรายนี้เป็นหญิงไทยคู่ อายุ ๔๕ ปี ประสบอุบัติเหตุมอเตอร์ไซค์คว่ำ ขาขวาหัก กระดูกทิ่มออกนอกเนื้อ ตอนหัวค่ำเมื่อวานนี้ ถูกนำส่งโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ซึ่งเห็นว่าผู้ป่วยไม่สามารถสู้ค่าใช้จ่ายในโรงพยาบาลเอกชนได้ และสามีผู้ป่วยเป็นข้าราชการ จึงให้การตรวจรักษาเบื้องต้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ตัวอย่างผู้ป่วยที่ต้องรักษา"คน"ให้ได้ก่อน"ไข้"ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๓๑ ในช่วงเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา มีเทศกาล "รับน้องใหม่" ในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ เช่นเดียวกับทุกปีที่ผ่านมา แต่ปีนี้มีความรุนแรงและวิธีการรับน้องที่ดุเดือด ลามกอนาจาร จนถึงขั้นข่มขืนน้อง "ชักเย่อจู๋" และซ้อมเชียร์จนถึงตาย เป็นต้นนางสาวสุพัตรา มหาอุดม (น้องหญิง) นิสิตชั้นปี ที่ ๑ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 306 ตุลาคม 2547
    คุณและโทษของจีเอ็มโอการตัดแต่งยีน และเทคโนโลยีชีวภาพ มีทั้งคุณและโทษความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านนี้ก้าวหน้าไปรวดเร็วมาก มีข้อเสนอแนะว่าจะต้องทำเรื่อง ELSI ควบคู่ไปด้วยอย่างทันกัน เอลซีคืออะไร เอลซีคือ... E = Ethical ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    เฉียดตายจากภาวะไตวายเรื้อรัง (๒)ไปโรงพยาบาล และย้ายโรงพยาบาล ในครั้งที่แล้วได้เล่าถึงอาการเริ่มต้นของโรคไต และอาการทรุดหนักจนถึงขั้นวิกฤติ กระทั่งต้องไปนอนโรงพยาบาล๓.ไปโรงพยาบาลการเดินทางจากบ้านไปโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งในตัวเมืองนครราชสีมา ต้องใช้เวลา ๓ ชั่วโมง ทรมานที่สุด หายใจหอบและขาดเป็นช่วงๆ ในใจคิดว่าอย่ามาตายบนรถตู้คันนี้เลย สงสารเจ้าของรถ ตอนแรกๆ ก็นั่งอยู่บนเบาะรถดีๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 299 มีนาคม 2547
    เฉียดตายจากภาวะไตวายเรื้อรัง (๑) อาการเริ่มต้น และอาการทรุดหนัก (วิกฤติ)"เฉียดตายจากภาวะไตวายเรื้อรัง" ถ่ายทอดจากประสบการณ์ ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ทยอยลงเป็นตอนๆ เพื่อเป็นอุทาหรณ์แก่ผู้ป่วยรายอื่นๆ และญาติ รวมถึงผู้อ่านที่สนใจ ว่าเมื่อมีอาการผิดปกติใดๆ เกิดขึ้นกับร่างกายของเรา ก็ควรจะต้องดูแลเอาใจใส่อย่างต่อเนื่อง และอย่ามองข้ามอาการผิดปกติใดๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายผู้ป่วยระยะสุดท้าย หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคลุกลาม จนถึงขั้นรักษาไม่หาย และไม่มีแผนการรักษาใดๆ อีกต่อไป นอกจากรับการดูแลแบบประคับประคองตามอาการจนถึงระยะสุดท้าย ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและญาติมีความต้องการอยู่ในโรงพยาบาลให้นานที่สุด โดยมีความคาดหวังว่าผู้ป่วยอาจ มีอาการดีขึ้นบ้าง หรือญาติผู้ป่วยอาจขาดความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ...