สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
341
กันยายน 2550
รศ.ดร.สุธาทิพ ภมรประวัติ กลุ่มวิชาเภสัชโภชนศาสตร์ โครงการบัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กิน บำบัดเกาต์เกาต์ เป็นโรคข้อที่พบบ่อยชนิดหนึ่ง เกิดจากมีความเข้มข้นของกรดยูริกสูงในร่างกาย ทำให้เกิดผลึกยูเรต (โมโนโซเดียมยูเรต) มีรูปร่าง เหมือนเข็มแหลมๆ สะสม ณ อวัยวะต่างๆ ได้แก่ ข้อ เอ็น ไต ก่อให้เกิดการอักเสบ และทำความเสียหายให้อวัยวะ ต่างๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
341
กันยายน 2550
นมแคลเซียมสูง จำเป็นหรือไม่ถาม : ปนัดดา/กรุงเทพฯดิฉันเห็นโฆษณานมแคล- เซียมสูงบ่อยมาก ต้องการทราบว่าจำเป็นต่อร่างกายอย่างไร ตอบ : พญ.รุ่งทิพย์ วรรณวิมลสุขนมแคลเซียมสูงที่มีการโฆษณา กันมากทุกวัน เหมาะกับคนบางกลุ่ม ได้แก่ คนท้อง คนสูงอายุ หญิงวัยทอง การดื่มนมแคลเซียมสูง ยังไม่พบรายงานว่าเกิดโทษแต่อย่างไร คนที่ดื่มแคลเซียมสูงจะมีความ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
341
กันยายน 2550
บนเส้นทางชีวิตประเวศ วะสีร่วมด้วยช่วยกันเยียวยาโลกธรรมสัญจรสู่มูลนิธิพุทธฉือจี้(เขียนเมื่อ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๐)๑๑แพทยศาสตร์ศึกษาที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์บ่ายวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๙ นั้นเอง หลังอาหารกลางวัน กับพิธีชงชา ดังกล่าวแล้ว เราไปเยี่ยมชมโรงพยาบาลและโรงเรียนแพทย์ของมูลนิธิพุทธฉือจี้ ที่โรงพยาบาลนี้เขามี การบริบาลกลางวัน (day care) สำหรับผู้สูงอายุด้วย โดยที่ ลูกหลานนำพ่อแม่ ปู่ย่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
341
กันยายน 2550
ป้าหมอเด็กพิเศษ คุณหมอ...ช่วยลูกดิฉันด้วยค่ะเสียงสั่นเครือของคุณนุช ผู้หญิงวัยกลางคนที่ใบหน้าหมองคล้ำ และมากด้วยรอยช้ำรอบดวงตา เหมือนอดนอนมาหลายวัน ป้าหมอจึงเชิญให้คุณนุชนั่งเพื่อเล่ารายละเอียดให้ฟัง"ตอนคลอดน้องบีน่ารักมากเลย เป็นเด็กตัวใหญ่ ใครๆ ก็แย่งกันอุ้ม โตขึ้นมาก็น่ารัก อารมณ์ดี เรียนรู้ได้เท่ากับเด็กในวัยเดียวกัน แต่ทุกอย่างก็เปลี่ยนไปอย่างไม่น่าเชื่อ เมื่อตอน ๔ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
341
กันยายน 2550
น้ำพริกปลา"น้ำพริกปลา" หรือ "น้ำพริกปลาป่น" เป็นน้ำพริกประจำชาติของคนไทยเช่นเดียวกับน้ำพริกกะปิ นิยมทั้งภาคกลางและภาคอีสานโดยเฉพาะภาคอีสานจะนิยมกินในชีวิตประจำวันแทบจะไม่ขาดจากสำรับกับข้าว เครื่องปรุงก็มีปลาย่างหรือปลาต้ม หัวหอม กระเทียม พริกชี้ฟ้า หรือพริกขี้หนูก็ได้ ปลาร้า (ห่อใบตอง) ย่างหรือต้มคั้นเอาแต่น้ำต้ม เกลือเล็กน้อย โขลกแหลกรวมกัน แล้วนำน้ำต้มปลามา ละลาย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
341
กันยายน 2550
เดชา ศิริภัทร มูลนิธิข้าวขวัญบานบุรี ความงามจากสำนวนไทย สู่ปีมหามงคลสำนวนไทยข้างบนนี้ ผู้เขียนได้ยินชาวบ้านพูดกันตั้งแต่ยังเป็นเด็กอยู่ในชนบท จังหวัดสุพรรณบุรี ปัจจุบันสำนวนนี้เริ่มมีคนใช้น้อยลง จนแทบจะสูญหายไปแล้ว ผู้เขียนจึงถือโอกาสบันทึกเอาไว้ในโอกาสที่จะเขียนถึงดอกไม้ที่คนไทยปัจจุบันคุ้นเคย และนิยมปลูกกันมากชนิดหนึ่ง นั่นคือ บานบุรีบานบุรี : ความงามในสีเหลืองทองรูปแตรบานบุรี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
342
กันยายน 2550
นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ สาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรคร้ายสะสมจากการบริโภค ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
340
สิงหาคม 2550
ภาณุเบศร์ มหาเรือนขวัญฉลาดกินอาหารไทยแคลเซียมเลิศรสการตลาดของผลิตภัณฑ์ยาและอาหารเสริมสำเร็จรูปที่มี "แคลเซียม" เป็นส่วนประกอบจำนวนมากนำเข้าจากต่างประเทศ กอบโกยเงินตราจากกระเป๋าคนไทยปีละหลายล้านบาท ทั้งๆ ที่อาหารไทยมีแคลเซียมจำนวนมาก และราคาถูก หากินได้ในท้องถิ่นนอกเหนือจากนมที่ทุกคนยอมรับว่ามีแคลเซียมสูงแล้ว ตำรับอาหารไทยทั่วทุกภูมิภาคก็อุดมด้วยสารอาหารประเภทเดียวกันนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
340
สิงหาคม 2550
รศ.ดร.สุธาทิพ ภมรประวัติ กลุ่มวิชาเภสัชโภชนศาสตร์ โครงการบัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ฟักข้าวอาหารต้านมะเร็งฟักข้าว Momordica cochinchinnensis (Lour.) Spreng. อยู่ในวงศ์แตงกวาและมะระคือวงศ์ Cucurbitaceaeชื่อเรียกอื่นคือ ขี้กาเครือ (ปัตตานี) ผักข้าว (ตาก ภาคเหนือ) มะข้าว (แพร่) แก็ก (Gac เวียดนาม) Baby Jackfruit, Spiny Bitter Gourd, Sweet Gourd, และ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
340
สิงหาคม 2550
โยคะกวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านการฟื้นฟูกลไกกาย-ใจ ปราณายามะ อุชชายีนอุชชายี เราหายใจเข้าผ่านทั้ง ๒ รูจมูก โดยเป็นการหายใจด้วยทรวงอก ผู้ฝึกขยายทรวงอกเพื่อให้ลมหายใจเข้าไปตามธรรมชาติ ระหว่างการหายใจเข้า โน้มฝาปิดกล่องเสียง (epiglottis) ลงบังหลอดลมส่วนหนึ่ง เหลือเป็นช่องเล็กๆ พอให้ลมหายใจไหลผ่านไปได้ การโน้มฝาปิดกล่องเสียงลงปิดหลอดลมเพียงบางส่วนแบบนี้นี่เอง ...