-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
397
พฤษภาคม 2555
การเคลื่อนไหวร่างกาย 6 จังหวะ มีรูปแบบการเคลื่อนไหวร่างกายหรือการเต้นรำที่เป็นระเบียบชัดเจน มีองค์ประกอบการเต้น ดังนี้1. จังหวะที่ใช้ประกอบการเคลื่อนไหวร่างกายใช้ 6 จังหวะ ได้แก่ บีกิน, วอลซ์, ซา-ซ่า, ช่า-ช่า-ช่า, แซมบ้า และ รุมบา ในแต่ละจังหวะจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่แตกต่างกันโดยใช้ร่างกายทุกส่วนประกอบการเคลื่อนไหว2. รูปแบบการเต้นรำ มีหลายรูปแบบ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
โรคกระดูกพรุน คือภาวะที่ปริมาณแร่ธาตุ (ที่สำคัญคือแคลเซียม) ในกระดูกลดลง ร่วมกับความเสื่อมของเนื้อเยื่อที่ประกอบเป็นโครงสร้างภายในกระดูก ทำให้เนื้อหรือมวลกระดูกลดความหนาแน่น จึงเปราะบางแตกหักง่าย บริเวณที่พบการหักของกระดูกได้บ่อย ได้แก่ ข้อมือ สะโพก และสันหลังโรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น กินอาหารที่มีแคลเซียมสูง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ รับแสงแดดอ่อนๆ เป็นประจำ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
ปัจจุบันผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น สวนทางกับอัตราการเกิดใหม่ของเด็กที่นับวันจะน้อยลงเรื่อยๆ เหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นจริงในประเทศที่พัฒนาแล้ว รวมถึงประเทศไทยของเราด้วยผู้สูงอายุล้วนเป็นผู้ที่อุทิศ ทุ่มเท อุตสาหะ ทำงานสร้างโลกใบนี้ตั้งแต่วัยรุ่นจนกระทั่งเกษียณอายุ พร้อมทั้งได้รับตำแหน่ง “ผู้สูงอายุ” (จะชอบหรือไม่ก็ได้สิทธิ์นั้นทันที) จึงเป็นหน้าที่ของพลโลกทั้งมวล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
ไข้ทรพิษ“ไข้ทรพิษ” เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่พบในสมัยพุทธกาล ขณะนี้จัดว่าเป็นโรคที่สูญพันธุ์ไปแล้วโรคไข้ทรพิษนี้นับว่ามีความสำคัญในแง่ประวัติศาสตร์ พระราชพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยาบันทึกไว้ว่า “สมเด็จพระบรมราชาที่ ๔ หน่อพุทธางกูร และสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประชวรด้วยไข้ทรพิษเสด็จสวรรคตทั้ง ๒ พระองค์....”ดังนั้น หากจะสันนิษฐานกันแล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
แกงส้มเป็นอาหารที่นิยมกินกันทุกภาค แต่ละภาคจะมีส่วนผสมและรสชาติที่แตกต่างกันตามความชอบ เช่น ภาคใต้จะมีรสเผ็ดร้อนนำและเปรี้ยวตาม ส่วนภาคกลางรสชาติของแกงส้มจะมีรสเผ็ดเล็กน้อย นอกจากเผ็ดแล้วยังมีรสเปรี้ยว เค็ม และหวาน ส่วนของรสเปรี้ยวได้มาจากน้ำมะขามเปียก รสหวานจากน้ำตาลปี๊บ รสเค็มจะใช้เกลือหรือน้ำปลาก็ได้ในอดีตเนื้อสัตว์นิยมใช้ปลาเพียงอย่างเดียว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
โรคเด็กตาขี้เกียจ คืออะไรเมื่อแรกเกิด ระบบการมองเห็นจะมีการพัฒนาเรื่อยๆ จนอายุประมาณ ๘-๑๐ ขวบ จึงจะเจริญเต็มที่ โดยจำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นการมองเห็นที่ดีในตาทั้ง ๒ ข้างในอัตราใกล้เคียงกันถ้ามีสาเหตุใดๆ ที่ทำให้ตาทั้ง ๒ ข้างไม่ได้ใช้มอง หรือใช้ตาข้างใดข้างหนึ่งน้อยกว่าตาอีกข้าง จะทำให้ตาข้างที่ใช้น้อยกว่ามีพัฒนาการที่ไม่ดีไปตลอดชีวิต โดยเมื่อเด็กโตขึ้นจะก็ไม่สามารถแก้ไขให้กลับมามองเห็นได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
ถาม :ดวงทอง/สระบุรีผู้ป่วยโลหิตจางทาลัสซีเมีย และควรดูแลรักษาทำอย่างไรบ้างคะตอบ :พญ.กลีบสไบ สรรพกิจการรักษาโรคโลหิตจางทาลัสซีเมีย ส่วนใหญ่เป็นการรักษาแบบประคับประคองโดยการให้เลือด ซึ่งมี ๒ แบบ คือแบบที่ ๑ เป็นการให้เลือดแบบประคับประคองเมื่อผู้ป่วยซีดมาก เพื่อเพิ่มระดับเฮโมโกลบินขึ้นให้สูงพอที่ผู้ป่วยจะหายจากอาการอ่อนเพลียหรือเหนื่อยจากการขาดออกซิเจน โดยให้ตามความจำเป็นแบบที่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
ถาม :รจนา/อุบลราชธานีดิฉันมีปัญหาตาแห้ง น้ำตาน้อย รู้สึกระคายเคืองตาบ้าง มีวิธีการรักษาหรือดูแลด้วยตนเองหรือไม่คะตอบ :พญ.สุมาลี หวังวีรวงศ์อาการตาแห้งมีหลายสาเหตุ แต่ที่พบบ่อยคือ มีการสร้างน้ำตาลดลงโดยเฉพาะในคนที่มีอายุมากขึ้น การกินยาบางอย่าง เช่น ยาแก้แพ้ ยาคลายเครียด การใส่คอนแท็กเลนส์ที่ไม่มีคุณภาพหรือไม่ถูกวิธี ภูมิแพ้ที่ตา หนังตาหรือเยื่อตาอักเสบเรื้อรัง ผู้ที่เคยทำเลสิก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
ถาม :มนตรี/นครปฐมหากป่วยเป็นไวรัสตับอักเสบบีจะมีอาการอย่างไรบ้าง แล้วสามารถหายขาดได้หรือไม่ครับตอบ :นพ.วัชรศักดิ์ โชติยะปุตตะในประเทศไทยพบผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีค่อนข้างมาก จากสถิติ ๑๐๐ คน จะมีผู้เป็นพาหะโรคไวรัสตับอักเสบบีอยู่ ๕-๗ คน ซึ่งผู้ที่เป็นพาหะนั้น ไม่ได้เป็นโรค ไม่มีอาการเจ็บป่วย เพียงแต่มีเชื้ออยู่ในร่างกาย โดยผู้นั้นสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
396
เมษายน 2555
ถาม :กัญญา/กรุงเทพฯโรคเลือดออกในสมองมีอันตรายต่อชีวิตหรือไม่ อาการเป็นอย่างไร และการป้องกันโรคนี้จะต้องทำอย่างไรบ้างตอบ :นพ.ประจักษ์ ศรีรพีพัฒน์โรคเลือดออกในสมอง เป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน พบมากในผู้ที่มีอายุ ๔๐ ปีขึ้นไป และผู้ชายมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้หญิงประมาณ ๒-๓ ...